เรื่อง: การวางแผนการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาช้างป่าออกนอกพื้นที่ : กรณีศึกษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อดิศร นุชดำรงค์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การวางแผนการบริหารจัดการเพือแกไขปัญหาช้างป่ าออกนอกพื ้ นที : กรณีศึกษา
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ าเขาอ่างฤาไน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย ู นายอดิศร นุชดํารงค์ หลักสูตร ปรอ. ร่นที
ุ ๒๖
การศึกษาวิจัยครังนีดําเนินการในพืนทีเขตรักษาพันธุสัตว์ป่ าเขาอ่างฤาไนและพืนที
โดยรอบในรัศมี ๑๐ กิโลเมตร มีวัตถุประสงค์เพือวางแผนการบริหารจัดการพืนทีโดยใช้เทคโนโลยีภูมิ
สารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) และการสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) มาช่วย
ในการวิเคราะห์การเปลียนแปลงพืนทีป่ าไม้และวิเคราะห์ความเหมาะสมของพืนทีสําหรับเป็ นทีอยู่
อาศัยและหากินของช้างป่ า เพือสามารถนําไปใช้ประกอบการพิจารณาแก้ไขปัญหาช้างป่ าออกนอก
พืนที จากการวิเคราะห์การเปลียนแปลงพืนทีป่ าไม้ในช่วงระหว่างปี ๒๕๔๓, ๒๕๔๙, และ ๒๕๕๕
พบวา พื ่ นทีป่ าไม้โดยรวมถูกบุกรุกทําลายน้อยมาก โดยเฉพาะอยางยิ ่ งในช่วงระหวางปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๕ ่
ทําให้สัตว์ป่ าในพืนทีไม่ได้รับการรบกวน และโดยเฉพาะช้างป่ ามีอัตราการเพิมขึนของประชากร
ค่อนข้างเร็ว จากการสํารวจร่องรอยของช้างป่ าโดยวิธีเดินลาดตระเวนเชิงคุณภาพพบวา มีร ่ ่องรอยช้าง
ป่ ากระจายอยูทั ่ วพื นที มีร่องรอยช้างป่ าออกมานอกพืนทีเขตรักษาพันธุสัตว์ป่ าจํานวนไม่น้อย (๙๙๑ ครัง
เมือเทียบกับจํานวนทีพบในเขตฯ ๒,๒๓๒ ครัง) เมือนําจํานวนครังทีพบร่องรอยช้างมาหา
ความสัมพันธ์กบปัจจัยเชิงพื ั นทีจํานวน ๗ ปัจจัย ได้แก่ ระดับความสูง ระดับความลาดชัน ระยะห่าง
จากแหล่งนํา ระยะห่างจากแหล่งโป่ ง ระยะห่างจากเส้นทางคมนาคม ระยะห่างจากทีตังหมู่บ้าน และ
ระยะห่างจากทีตังหน่วยงาน พบว่า มีพืนทีทีไม่เหมาะสมร้อยละ ๓.๓ พืนทีทีเหมาะสมน้อยร้อยละ
๒๘.๖๘ พืนทีทีเหมาะสมปานกลางร้อยละ ๒๔.๘๐ และ พืนทีทีเหมาะสมมากร้อยละ ๔๓.๑๙
ของพืนทีเขตฯ แนวทางเบืองต้นในการแก้ปัญหาช้างป่ าออกนอกพืนที คือ ควรเพิมปริมาณแหล่งนํา
และแหล่งอาหารในพืนทีให้มากขึนโดยเฉพาะในพืนทีทีมีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
นอกจากนี การสร้างแนวรัวไฟฟ้ า หรือรัวประเภทอืน การขุดคูกนช้าง ในบริเวณรอบแนวเขตทีติดต ั ่อ
หรืออยู่ใกล้กบทีตั ั งของหมู่บ้านหรือทีทําการเกษตรแปลงใหญ่น่าจะมีความจําเป็ น ในกรณีทีประเมิน
แล้วพืนทีของเขตฯไม่สามารถรองรับจํานวนประชากรของช้างได้ อาจจําเป็ นต้องมีการศึกษาเพือหา
แนวทางในการเคลือนย้าย (translocation) ช้างป่ าบางส่วนออกไปอาศัยและหากินในพืนทีป่ าอนุรักษ์อืน
abstract:
ABSTRACT
Title Land Area Management Planning for Wild Elephants Control : A Case Study
of Khao Ang Rue Nai Wildlife Scanctuary
Field Science and Technology
Name MR.ADISORN NOOCHDUMRUNG Course NDC (JSPS) Class 26
This case study was carried out in the area of Khao Ang Rue Nai Wildlife Sanctuary
and its surrounding area of 10 km from the boundary. Geographic information System and
Remote Sensing technologies were applied for this study aiming at the assessment of change in
forest area and the evaluation of land suitability for wild elephants’ living. Change in forest area
was assessed in three different period of years, 2000, 2006 and 2012. The forest area was not
much encroached, especially from year 2006 to 2012, resulting the increased growth rate of
elephant population. Land suitability was evaluated by analyzing the relation between number of
elephants’ existence and seven land factors; elevation, slope, distance from water sources,
distance from saltlicks, distance from roads, distance from villages, and distance from offices.
The results showed that elephants’ existence marks (collected by smart patrolling) were recorded
by GPS device which could be found in all parts of the sanctuary, mostly in the northern area.
The number of 991 elephants’ existence marks were found outside the boundary of the sanctuary,
whereas 2,232 marks were found inside. Regarding degree of land suitability, 43.19 percent of
total sanctuary land area was evaluated as high suitable area, 24.80 percent as [moderate suitable,
28.68 percent as low suitable, and only 3.33 percent as not suitable. In case that elephant carrying
capacity of this sanctuary is still acceptable, more water and elephant food sources should be
added into the area of sanctuary so that elephant will not move out. If not, translocation of
elephants may be necessarily studied and implemented. Electric fences and canals can be made in
some areas where adjacent to the village or to the large area of agricultural land.