Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การนำการระงับข้อพิพาททางเลือกโดยวิธีการไกล่เกลี่ยมาใช้ในสัญญาปกครอง (Enhancing the Use of Alternative Dispute Resolution in Administrative Contract)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุเทพ ธาระวาส
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง การนาํการระงบัขอ ้ พิพาททางเลือกโดยวธิีการไกล่เกลÉียมาใชใ้ นสัญญาปกครอง (Enhancing the Use of Alternative Dispute Resolution in Administrative Contract) ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย นายสุเทพ ธาระวาส หลกัสูตร ปรอ. รุ่นท ๒๖ ีÉ การทีÉประเทศไทยไดเ้ขา้เป็นประชาคม ASEAN ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ทีÉกาํลงัจะมาถึงใน เวลาอนั ใกล้ประเทศไทยมีความจาํ เป็นในการพฒั นาด้านการลงทุนในโครงสร้างพÊืนฐานต่างๆ ในประเทศอีกมากมาย เพืÉอพัฒนาประเทศให้พร้อมต่อการเป็นประชาคม ASEAN รวมทัÊง การพฒั นาเพÉือให้ทัดเทียมและสามารถแข่งขนั กับนานาประเทศทÉวโลก ั ซึÉงการร่วมลงทุนจาก ภาคเอกชน นัÊน ในการดาํ เนินการก็จะตอ้งมีการทาํสัญญาทางปกครองระหว่างรัฐกบั เอกชนผูล้งทุน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติภาคเอกชนยงัมีความวิตกกังวลต่อการเข้าทาํ สัญญาทางปกครองกับ ภาครัฐ โดยเฉพาะในขัÊนตอนและกระบวนการการดาํ เนินคดีในศาลปกครองในสัญญาทางปกครอง นัÊน มีขอ้จาํกดัหลายประการและแมว้า่ ประเทศไทยไดก้าํหนดใหม้ีพระราชบญั ญตัิอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.๒๕๔๕ ทีÉบญั ญตัิให้สามารถใช้วิธีการอนุญาโตตุลาการในคดีปกครองได้โดยกระบวนการ อนุญาโตตุลาการเป็นวิธีการระงบัขอ้ พิพาทเชิงบงัคบั คือ มีผลผูกพนั คู่สัญญาให้ตอ้งปฏิบัติตาม แต่จากหลายๆเหตุการณ์ทีÉผ่านมาการใช้อนุญาโตตุลาการในคดีปกครองนÊนั หน่วยงานภาครัฐมกั เป็นฝ่ายแพค้ดีและต้องชดใช้ค่าเสียหายให้กับเอกชนคู่สัญญา ทาํให้ในช่วงหนÉึงรัฐบาลไทยเคย พิจารณาทีÉจะเสนอไม่ให้นํากระบวนการระงบั ข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ แต่การพิจารณา เช่นนÊนั ส่งผลต่อความน่าเชืÉอถือในการเขา้ร่วมลงทุนในกิจการของรัฐทาํให้ภาคเอกชนทÊงในและ ั ต่างประเทศขาดความเชืÉอมันÉ วา่ เมÉือเกิดขอ้ พิพาทขÊึน จะไดร้ับความเป็นธรรมจากการเขา้ทาํ สัญญา กบั ภาครัฐหรือไม่แนวความคิดนÊีจึงตกไป ผูว้ิจยั ไดเ้ล็งเห็นถึงความสําคญั ของแนวทางในการไกล่เกลÉียขอ้ พิพาทระหวา่ งภาครัฐ กบั เอกชนในคดีทางปกครอง ประกอบกบั การทÉีไดศ้ึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาทÉีต่างประเทศ นาํ มาปรับใชใ้นการดาํ เนินการเพืÉอระงบัขอ้พิพาททางในคดีทางปกครองในหลายๆประเทศทวโลก Éั ทีÉมีการเริÉมนาํการระงบัขอ้ พิพาททางเลือกเขา้มาใช้แก้ไขขอ้ พิพาทในคดีปกครองระหว่างรัฐกบั เอกชน จึงเห็นว่าการนําการระงบั ข้อพิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution (“ADR”)) มาใช้ในสัญญาทางปกครองของไทยเป็ นเรืÉองทีÉน่าจะนํามาศึกษาและพิจารณา ทÊงนี ั Êผูว้ิจยัจะเน้น การศึก ษาแนวทางการระงับ ข้อพิพ าททางเลื อกแบบสมัครใจโดยมี คนกลาง (Mediator) ข เป็นผูด้าํ เนินการไกล่เกลีÉย โดยมีวตัถุประสงคเ์พืÉอศึกษาเปรียบเทียบการดาํ เนินการระงบัขอ้ พิพาท ทางเลือก กบั การระงบั ขอ้ พิพาทเชิงบังคบั ในการดาํ เนินคดีทÉีเกÉียวกบั สัญญาทางปกครองว่าการ ระงบัขอ้ พิพาททางเลือกสามารถนาํ มาใชก้ บั สัญญาทางปกครองในประเทศไทยไดห้ รือไม่และจะ สามารถนาํ มาใชไ้ดอ้ยา่ งไรและวิเคราะห์ พร้อมทัÊงเสนอแนวทางแกไ้ขกฎหมาย หากกฎหมายไทย ไม่ไดม้ีการบญั ญตัิใหส้ ามารถดาํ เนินการได้ จากการศึกษาเกีÉยวกบัการระงบัขอ้พิพาททางเลือกแลว้ พบว่าการระงบัขอ้พิพาททางเลือก นัÊนเป็นการไกล่เกลีÉยเพืÉอระงบัขอ้ พิพาทโดยทÉีคู่กรณีตอ้งสมคัรใจทÉีจะเขา้ร่วมกระบวนการระงบั ขอ้ พิพาทนÊนั อย่างฉันท์มิตรโดยผ่าน Mediator และเนืÉองจากเป็นการดาํ เนินการโดยสมคัรใจของ ทัÊงสองฝ่ายดงันÊนั การระงบัขอ้ พิพาททางเลือกจึงไม่สามารถใช้บงัคบั ตามกฎหมายกบัคู่กรณีได้ หากอีกฝ่ายไม่ยินยอมปฏิบตัิตาม แต่การระงบัขอ้ พิพาททางเลือกนÊนั มีขอ้ดีอยู่หลายประการ เช่น ประหยดัเวลาและค่าใช้จ่ายคู่ความไม่ต้องเสียเวลา จากการดาํ เนินกระบวนการทางศาล โดยทีÉ คู่พิพาทยงัสามารถรักษาความสัมพนั ธ์จากการไกล่เกลÉียและยงัลดปริมาณคดีของศาลปกครอง อีกทัÊงเป็นการรักษาภาพลกัษณ์ของภาครัฐในสายตาของคู่สัญญาภาคเอกชนทÊงัในและต่างประเทศ ทัÊงนีÊหากประเทศไทยจะนําการระงับข้อพิพาททางเลือกโดยวิธีการไกล่เกลÉียมาใช้ ควรจะตอ้งมีการดาํเนินการเช่น ๑. การให้คาํมนÉัจากทางภาครัฐและการยอมรับศาลจากปกครองโดยให้มีการแกไ้ข กฎหมายเพืÉอให้เกิดการรับรองผลการดาํ เนินการระงบัขอ้พิพาททางเลือก ๒. ควรมีการจดั ตÊงัสถาบนั เพืÉอการระงบัขอ้พิพาททางเลือกทÉีมีความเป็ นอิสระจาก อาํนาจของศาลและเป็นกลาง ๓. เจา้หน้าทีÉของสถาบนั เพÉือการระงบัขอ้ พิพาททางเลือกจะตอ้งเป็นผูท้ีÉมีความรู้ ความสามารถโดยตรงเกีÉยวกบัการระงบัขอ้ พิพาททางเลือกโดยเฉพาะการทาํ หน้าทÉีเป็ น Mediator และกฎหมายปกครองและวธิีพิจารณาคดีปกครองและกฎหมายอÉืนทีÉเกีÉยวขอ้ง ๔.การพิจารณาคดัเลือกผูข้า้มาทาํงานในสถาบนั จะตอ้งดาํ เนินการคดัเลือกจาก สถาบนั โดยตรงและไม่เกÉียวข้องกับหน่วยงานภาครัฐหรือคู่พิพาท ซÉึงในต่างประเทศ Mediator จะคดัเลือกมาจากอาจารยค์ ณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลยั ผทู้รงคุณวฒุ ิผพู้ ิพากษาศาลปกครองหรือ ผทู้ีÉปฏิบตัิงานเกÉียวกบัการไกล่เกลÉียขอ้พิพาททÉีเกษียณอายรุ าชการแลว้ ๕. จัดให้มีการฝึกอบรมพัฒนาเกีÉยวกับกฎหมายกฎระเบียบทÉีเกีÉยวข้องกับ กระบวนการระงบัขอ้พิพาท เป็นตน้

abstract:

ABSTRACT Title Enhancing the Use of Alternative Dispute Resolution in Administrative Contract Field Politics Name Mr.Suthep Tharawas Course JSPS Class 26 As Thailand’ s entry into ASEAN Economic Community in 2015 is approaching, Thailand has to develop its infrastructure investment in various areas, aiming to prepare the country for integration into ASEAN Economic Community, as well as develop the country to be on par and competitive with other countries worldwide. In undertaking joint investments with the private sector, there is a need for administrative contracts between the state and private investors. However, in practice, there exist concerns in the private sector about entering into administrative contracts with the public sector. Particularly, in the procedures of legal action in the administrative court, there are many restrictions, despite Thai law providing in Arbitration Act B.E. 2545 that arbitration can be used in settling administrative cases where arbitration process is regarded as a mandatory dispute settlement method with binding on the parties. However, in the use of arbitration in many administrative cases in the past, state agencies tended to be the loser and had to pay damages to the private parties, causing the Thai government at some periods of time to consider excluding the use of arbitration process in settling disputes. Such consideration impacted credibility in joint investment in state undertakings, causing private investors, both domestic and overseas, to feel uncertain if in case of dispute they would be fairly treated or not in entering into contracts with the state. The idea was therefore dropped. Considering the importance of mediation in settling disputes under administrative cases between the state and the private sector, the researcher, with studies on approaches to dispute settlement in administrative cases in several countries worldwide where alternative dispute resolution has been introduced in settling disputes between the state and the private sector in administrative cases, was of the opinion that the application of alternative dispute resolution ( ADR) in Thai administrative contract was a matter that should be studied and taken into consideration. In studying, the researcher focused on voluntary alternative dispute resolution with a mediator mediating the dispute. The objective of the study was to compare voluntary alternative dispute - 2 - resolution with mandatory dispute settlement in administrative cases in relation to administrative contracts to find if alternative dispute resolution could be applied with administrative contracts in Thailand and how it could be applied, with analysis and recommendations on legal amendments in case of no such provisions in Thai laws. From the study of alternative dispute resolution, it was found that alternative dispute resolution is a form of negotiation to settle a dispute with the parties voluntarily entering into dispute settlement process in a friendly manner through a meditator and as the process is carried out voluntarily by both parties, alternative dispute resolution cannot be enforced under law in case a party does not comply. However, there are several advantages such as time and cost saving with the parties not having to waste time in the court process, where disputants can maintain relationship in negotiating and the number of cases in the administrative court can be reduced, while the state image can be upheld in the eyes of private parties, both in the country and in foreign countries. In case Thailand chooses to adopt alternative dispute resolution, there Is a need for the following to be implemented: 1. Assurance from the state and recognition from the administrative court by making amendments to relevant laws to ensure acceptance of the result of alternative dispute resolution 2. Establishment of an institution on alternative dispute resolution, with in dependence from the court and neutrality 3. Staff of the institution on alternative dispute resolution shall be directly equipped with knowledge and ability on alternative dispute resolution, especially in performing duties as a mediator, and administrative laws and administrative case procedures and other laws. 4. The selection of staff for duties in the institution must be made directly from the institution, not involving the state or disputants. In foreign countries, mediators are selected among qualified law professors from universities, judges in the administrative court or persons retiring from work on dispute mediation. 5. Training and development on laws and regulations related to dispute settlement process, etc.