Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบบริการแพทย์ทหารในสถานการณ์ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สาโรช เชียวขจี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการพัฒนาระบบบริการแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ก่อความไม่ สงบในจังหวัดชายแดนใต้ ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย ู พลตรี สาโรช เขียวขจี หลักสูตร ปรอ. ร่นที ุ ๒๖ ตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงพยาบาล อานันทมหิดล กรมแพทย์ทหารบก การบริการแพทย์ทหารในพื.นที/สามจังหวัดชายแดนใต้โดยความรับผิดชอบของกรม แพทย์ทหารบกเป็ นสิ/งจําเป็ น ที/ผ่านมามีการปรับเปลี/ยนการรูปแบบการให้บริการแพทย์ทหารใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างต่อเนื/อง และมีการพัฒนาการมาตามลําดับ แต่สถานการณ์ความ รุนแรงจากการก่อความไม่สงบ ก็ยังคงมีอยู่อยางต ่ ่อเนื/องและมากขึ.น ดังนั.นการศึกษาแนวทางการ พัฒนาระบบบริการแพทย์ทหารที/เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จึงเป็ นสิ/งที/มีความจําเป็ นโดย รูปแบบและแนวทางปฏิบัติจะต้องมีความสอดคล้องกบภารก ั ิจของหน่วยเป็ นหลัก เพื/อที/จะเป็ นการ เพิ/มขวัญกาลังใจให้ก ํ บผู้ปฏิบัติงานในพื ั .นที/และผู้ที/จะลงไปปฏิบัติงานในห้วงต่อไป ผลการวิจัย การบริการทางการแพทย์ทหารในจังหวัดชายแดนใต้ ในปัจจุบันคือมีความเหมาะสมดี เป็ นการ ผสมผสานและมีการบูรณาการ โดยการปรับใช้ทรัพยากรร่วมกนของหน ั ่วยงานในพื.นที/ มีหน่วย ตัวแทนของกรมแพทย์ทหารบก คือ ศูนย์แพทย์ทหารบก จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศพบ. จชต.) เป็ น หน่วยรับผิดชอบและประสานนโยบายกบหน ั ่วยงานระดับสูง ช่วยแกปัญหาภารก ้ ิจการส่งกลับ การ ส่งกาลังสายแพทย์ และยังช ํ ่วยภารกิจการแพทย์สนับสนุนงานกิจการพลเรือน แต่มีข้อเสนอแนะวา ่ ควรส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยบทเรียนจากการปฏิบัติเพื/อนําไปพัฒนาเป็ นหลักนิยมการบริการ แพทย์ทหารในสถานการณ์การก่อความไม่สงบต่อไปในอนาคต

abstract:

ABSTRACT Title Development of military medical service system in insurgency situations of the Deep South Thailand. Field Military Name Maj. Gen. Saroj Keokajee Course NDC (JSPS) Class 26 Military medical service system in counterinsurgency in southern border province of Thailand developments occurs continuously. When the casualties of military mission occur, military medical services can adjust to a civilian medical unit immediately. These adaptations to solve such problems in the mutual benefit both military and civilian, but may be an obstacle in the development of military medical service units. In the future, if the situations are worsened, the capacity of military hospitals in the region should develop to support the increased military mission. Medical air evacuation in this situation should promote to be used efficiently and properly. Foundation of Southern Provinces Army Medical Center (SPAMC.) is responsible for policy and coordination with various high responsibility authorities can resolves medical logistics and preventive medicine problems. Others mission of SPAMC is medical support in civil affairs that increase in the future. Military medical service systems developed in these situations are appropriate. These can solve the problems of all components of medical service systems and include medical support in civil affair. RTAMEDD should promote the lesson learned from research to practice to develop the doctrine of military medical service in the counterinsurgency situation in the future.