เรื่อง: ผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจต่อสถาบันการเงิน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมศักดิ์ วรวิจักษณ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง ผลกระทบของพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจต่อสถาบันการเงิน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นายสมศักดิ* วรวิจักษณ์ หลักส ู ูตร ปรอ. ร่นที
./ ุ
เนืองจากในปัจจุบันนันได้มีการทําธุรกิจมากขึน ซึงจะต้องมีการขอสินเชือเพือมาเป็ น
เงินทุนในการดําเนินธุรกิจ แต่เนืองจากกฎหมายในเรืองหลักประกนยังมีข้อจําก ั ด กล ั ่าวคือ ในเรือง
การจํานําก็ต้องมีการส่งมอบการครอบครองทําให้ผู้จํานําไม่สามารถใช้ทรัพย์สินทีเป็ นหลักประกนั
นันมาใช้ประโยชน์ได้ ส่วนกรณีการจํานองนัน ผู้จํานองสามารถครอบครองหลักประกนได้แต ั ่
ประเภทของทรัพย์สินทีจะนํามาเป็ นหลักประกนได้นั ั นก็มีน้อยประเภท ทําให้ทรัพย์สินทีมีมูลค่า
ทางเศรษฐกิจหลายประเภทไม่สามารถนํามาเป็ นหลักประกนได้ นอกจากนั ั น กระบวนการบังคับ
จํานองก็ยังมีความล่าช้าซึงเป็ นอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ
ดังนัน จึงมีแนวคิดในการออกกฎหมายทีจะช่วยแก้ไขข้อจํากัดนีเพือทีจะทําให้
สามารถนําทรัพย์สินทีมีมูลค่าในทางเศรษฐกิจมาใช้เป็ นหลักประกนได้ในลักษณะทีไม ั ่ต้องส่งมอบ
การครอบครองแก่ผู้รับหลักประกน และสร้างวิธีการบังคับหลักประก ั นทีมีความรวดเร็วขึ ั น ซึงจะ
เป็ นประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ซึ งร่างกฎหมายทีร่างขึนมานีเรี ยกว่า “ร่าง
พระราชบัญญัติหลักประกนทางธุรก ั ิจ พ.ศ.....” โดยในการศึกษานีจะยึดร่างทีจัดทําโดยกระทรวง
ยุติธรรมเป็ นหลักและนําร่างกฤษฎีกามาประกอบ
แนวคิดของร่างพระราชบัญญัติหลักประกนทางธุรก ั ิจนัน ได้กาหนดประเภทของ ํ
ทรัพย์สินมาเป็ นหลักประกนมากขึ ั น โดยไม่ต้องมีการส่งมอบครอบครอง โดยได้แบ่งประเภทของ
ทรัพย์สินทีจะนํามาเป็ นหลักประกันไว้ ; ประเภท คือ หลักประกันทีเป็ นทรัพย์สินทัวไป กับ
หลักประกนทีเป็ นก ั ิจการ โดยให้สามารถนําทรัพย์สินทีอยู่ในโครงการทังหมด หรือทรัพย์สินทีอยู่
ในโครงการนันทีเป็ นส่วนสําคัญในการดําเนินโครงการมาใช้เป็ นหลักประกันได้ โดยใน
พระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระสําคัญดังนี
<. ทรัพย์สินทีนํามาเป็ นหลักประกนนั ั น ผู้ให้หลักประกนยังคงสามารถครอบครอง ั
ทรัพย์สินทีเป็ นหลักประกนได้ และสามารถใช้สอย จําหน ั ่าย จ่ายโอน และใช้ในการผลิตต่อไปได้
ตามปกติ ก
;. ในกรณี ทีผู้ให้หลักประกันยังไม่มีการผิดสัญญาเงินกู้ตามโครงการ ผู้ให้
หลักประกนสามารถใช้หลักประก ั นทีเป็ นวัตถุดิบในการผลิต แปรรูป และขายได้ เมือได้เง ั ินมาก็
สามารถใช้สอยเงินนันได้ตามปกติหรือตามข้อตกลงระหวางผู้ให้หลักประก ่ นและผู้รับหลักประก ั น ั
โดยทรัพย์ใดทีได้มีการจําหน่ายจ่ายโอนไปให้แก่บุคคลภายนอกผู้สุ จริ ตก่อนทีเจ้าหนีซึ งเป็ น
สถาบันการเงินจะยึดนัน ก็ให้ถือวาทรัพย์และสิทธินั ่ นโอนไปยังผู้รับโอนโดยปลอดจากภาระผูกพัน
ของหลักประกน ั
=. สามารถใช้ทรัพย์สินทีมีมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจได้ทังหมด ผู้รับหลักประกนจะเป็ น ั
เจ้าหนีมีประกันตามความหมายของ พระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา > และมีการจัดลําดับ
บุริมสิทธิทีชัดเจน
?. ในกรณีทีมีการผิดนัดชําระหนีและเจ้าหนีซึงเป็ นสถาบันการเงินบังคับหลักประกนั
นัน การจําหน่ายนันไม่จํากดเฉพาะการจําหน ั ่ายโดยวิธีการขายทอดตลาดเท่านัน
abstract:
- 1 -
ABSTRACT
Title The Effectiveness of Business Collateral Act for Financial Institution
Field Economics
Name Mr. Somsak Woravijak Course NDC (JSPS) Class &'
Nowadays the business transactions increase. The demands of financial support also
increase, accordingly. While it is quite restricted in the laws applicable to the financial collateral
such as the transfer of possession in the case of lawful pledge that limits the pledgors to utilize the
pledged property. Although, the mortgage does not limit the mortgagor to possess the mortgaged
property, but the property capable to be under mortgage is quite in few categories. Then many
property valuable economically are unable to be taken as security. Additionally, the procedure of
legal execution is quite late and make it difficult for the entrepreneurs to continue the business.
Therefore, there is an effort to stipulate a new law resolving the restriction as abovementioned and allow to take some economically valuable property as a security without
forwarding the possession there of to the creditor; to establish a more rapid enforcement of
security for benefit to business transactions at present. That law is being drafted and called “Draft
of Business Collateral Act”. This study is based on the draft of the act which was prepared by the
Ministry of Justice together with the drafted one of the Office of the Council of State.
The concept of this law is to define more categories of the property capable to be
taken as security but the possession of such property is still the same. The said property ca be
divided into 2 categories: general property and a part of business enterprise. All property of the
project that is an essential part of the project achievement can be taken as collateral. The new law
is enacted the material points as follows:
1. The possession of the collateral can be the same without limitation to the sale,
transfer, disposal as well as the use for business as usual; - 2 -
2. In case of due performance, the said collateral can be disposed to make money as
usual or as agreed with the creditor. In any case if the said collateral is bought by a third party in
good faith before the said collateral is seized by the creditor, it shall be deemed that the buyer get
the said property free from such encumbrance;
3. All property economically valuable may be used as collateral. The creditor
receiving the collateral shall be a secured creditor as defined in Section 6 of the Bankruptcy Act
and shall be subject to clear sequence of preferred right as specified in the law;
4. In case of default and the seizure of the collateral by the creditor which is
financial institution, the disposal of the collateral should not be limited to the sale by auction
only.