เรื่อง: เรื่อง แนวทางการใช้ระบบเครดิตทางสังคมบนฐานของพื้นที่เชิงนวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านเชียงวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง, สจว.สพฐ. รุ่นที่ 8 กลุ่มที่ 4
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง
|
ปีที่พิมพ์:
|
2564
|
จำนวนหน้า:
|
194
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของระบบเครดิตทางสังคมบนฐานของ
พื้นที่นวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต และสร้าง
แนวทางการใช้ระบบเครดิตทางสังคมบนฐานของพื้นที่นวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของ
นักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านเชียงวิทยา จังหวัดอุดรธานี การวิจัย
แบ่งเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ การศึกษาลักษณะของระบบเครดิตทางสังคมบนฐานพื้นที่
เชิงนวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ส าคัญเป็นบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง จ านวน ๕๒ คน ซึ่งได้มาโดยเลือกแบบ
เจาะจงและสมัครใจให้ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมี
โครงสร้าง (Semi-Structured Interview) และระยะที่ ๒ การพัฒนาแนวทางการใช้ระบบเครดิตทาง
สังคมบนฐานของพื้นที่เชิงนวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียน
สุจริต : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านเชียงวิทยา จังหวัดอุดรธานี โดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์สูง และเป็นผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง จ านวน ๑๕ คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) แล้วสรุปประเด็น โดยยึดความสอดคล้องของเนื้อหาและจัดล าดับความส าคัญ
ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ประเด็นการสัมภาษณ์ และประเด็นการสนทนากลุ่ม
ผลการวิจัย พบว่า
๑. ลักษณะของระบบเครดิตทางสังคมบนฐานพื้นที่เชิงนวัตกรรมในการเสริมสร้าง
คุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต : กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านเชียงวิทยา จังหวัด
อุดรธานี ได้แก่ (๑) คุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต ๕ ประการ คือ ทักษะการคิด
ความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ (๒) ลักษณะของพื้นที่
เชิงนวัตกรรม “วัฒนธรรมบ้านเชียง” (๓) ขอบข่ายเวลาและโอกาสของพื้นที่เชิงนวัตกรรม “การสืบ
สานวัฒนธรรมบ้านเชียงด้วยกิจกรรมในโรงเรียน และกิจกรรมเพื่อชุมชน” (๔) การวัดผลประเมินผล
ตามแนวทางของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (๕) รางวัลและผลตอบแทนที่นักเรียนได้รับ สิ่งที่เป็นนามธรรม ข
ได้แก่ ความรัก การยอมรับนับถือ การยกย่องชมเชย ความภาคภูมิใจ ส่วนสิ่งที่เป็นรูปธรรม ได้แก่
งบประมาณและวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในกิจกรรมนักเรียนคูปองอาหารกลางวัน ทุนการศึกษา สิทธิพิเศษ
เข้าศึกษาต่อ การรับซื้อผลิตภัณฑ์ของนักเรียน การสร้างรายได้ระหว่างเรียน เป็นต้น
๒.การสร้างแนวทางการใช้ระบบเครดิตทางสังคมบนฐานพื้นที่เชิงนวัตกรรมในการ
เสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านเชียงวิทยา
จังหวัดอุดรธานี ประกอบด้วย (๑) หลักการ/แนวคิดของแนวทางการใช้ระบบเครดิตทางสังคม
บนพื้นฐานกิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมบ้านเชียง” (๒) การขับเคลื่อนการใช้ระบบเครดิตทางสังคม
บนฐานพื้นที่เชิงนวัตกรรมในการเสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต (๓)
การก ากับติดตามการปฏิบัติกิจกรรม และ (๔) ผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน
สรุปผลจากการประเมินและรับรองแนวทางการใช้ระบบเครดิตสังคมในการเสริมสร้าง
คุณลักษณะนักเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริต : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านเชียงวิทยาที่พัฒนาขึ้นจาก
ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน ๕ คน ในประเด็นพิจารณาทั้ง ๔ ด้าน พบว่า มีคะแนนค่าเฉลี่ย
รวมในทุกด้านเท่ากับ ๔.๙๔ อยู่ในระดับมากที่สุด
ข้อเสนอแนะทั่วไป ได้แก่ ๑) การให้ความเชื่อถือ ยอมรับ ชื่นชมยินดี ยกย่อง ส่งเสริม
ให้ก าลังใจ ๒) ให้โอกาส เปิดโอกาส สร้างโอกาส ในการแสดงออกถึงความรู้ความสามารถอย่าง
สร้างสรรค์ในโอกาสต่าง ๆ ๓) ส่งเสริมความสามารถและความโดดเด่นของนักเรียนแต่ละคนเพื่อสร้าง
แรงจูงใจในการแสดงออกตามความถนัดในด้านอื่น ๔) เสริมสร้างความภาคภูมิใจร่วมกันเผยแพร่
ผลงานสู่สากล โดยประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ ผ่านสื่อที่หลากหลายสู่สากล
ข้อเสนอเชิงนโยบาย ได้แก่ ๑) กระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และหน่วยงานอื่น ควรขับเคลื่อนระบบเครดิตสังคมในสถานศึกษาและหน่วยงานทั่ว
ประเทศ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติภายใต้แผนแม่บทประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ ๑๐ ว่า
ด้วยการปรับเปลี่ยนค่านิยมแล้ววัฒนธรรม รวมถึงศึกษากลไกใหม่ ๆ เพื่อสร้างแรงจูงใจ อาทิ ระบบ
เครดิตสังคม (Social credit) ๒) รัฐบาลควรสร้างแรงจูงใจ โดยใช้ระบบเครดิตสังคม (Social credit)
เพื่อสานต่อ นโยบายและการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติภายใต้แผนแม่บทประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ
ประเด็นที่ ๑๐ ว่าด้วยการปรับเปลี่ยนค่านิยมแล้ววัฒนธรรม โดยควรจัดท าฐานข้อมูล Big Data
ระบบเครดิตสังคมโดยเชื่อมโยงข้อมูลกับทุกส่วนราชการ
ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยครั้งต่อไป มีดังต่อไปนี้ ๑) ควรมีการศึกษาวิจัยด้านแนว
ทางการใช้ระบบเครดิตสังคมในวงกว้างขึ้นในระดับ จังหวัดหรือระดับประเทศ เพื่อเป็นแนวทาง
ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ประเทศที่มีระบบเครดิตสังคมที่ เข้มแข็ง ปฏิบัติได้จริง ๒) ควรมีการศึกษา
รูปแบบการทางการใช้ระบบเครดิตสังคม และน ารูปแบบที่ได้ไป ทดลองใช้ในชุมชนต้นแบบ เพื่อให้
เกิดพื้นที่เชิงนวัตกรรมระบบเครดิตสังคมต้นแบบ เพื่อสรุปภาพรวม ของรูปแบบและความถูกต้อง ค
ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบใน การปฏิบัติจริงของแต่ละ
องค์ประกอบ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติภายใต้แผนแม่บทประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่
๑๐ ว่าด้วยการปรับเปลี่ยนค่านิยมแล้ววัฒนธรรม ที่ต้องการการสร้างพื้นที่ และกิจกรรมการส่งเสริม
วัฒนธรรมและค่านิยม ในชุมชน โดยสอดแทรกการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมพื้นฐาน ๓) ควรมีการ
ศึกษาวิจัยเรื่องการใช้ระบบเครดิตสังคมบูรณาการกับโครงการที่มีอยู่ใน แต่ละชุมชน
abstract:
This research aimed to study social credit systems attribute and create
guidelines for using social credit system on innovative areas to enhance student
characteristics in Upright school project : Case study of Banchiangwittaya school
Udonthani Province. The study was divided into 2 phases; phase 1st studied social
credit system attribute on innovative areas to enhance to student characteristics in
Upright school project. Key performance is stake holders 52 persons, collect
information instrument is semi - Structured Interview. The phase 2nd created
guideline of using social credit system on innovative areas to enhance to student
characteristics in Upright school project : Case study of Banchiangwittaya school
Udonthani Province by focus group. Key performance is expert and stake holders 15
person. Data analysis by content analysis, summary, priority in objective and subject
of interview, focus group.
The results showed that
1.The social credit system attribute on innovative areas to enhance to
student characteristics in Upright school project : Case study of Banchiangwittaya
school Udonthani Province. (1) 5 student characteristics in Upright school project are
thinking skill, discipline, honest, live in sufficiency and public mind. (2) The attribute
of innovative areas were “Banchiang Culture” (3) The Scope, occasion and
opportunity of innovative areas were “Banchiang Cultural animation” with student
development activity curriculum, extracurricular activity and social activity. (4) The
evaluation used guideline of student development activity evaluation of the Basic
Education Core Curriculum 2008. (5) The rewards and reinforcement were abstracts
included love, respect admiration pride, and objects included budget and materialsจ
to use in student activities, lunch coupons, scholarships, special privileges to study,
student product purchase and earning while studying, etc.
2. Creating guidelines for using social credit system on innovative areas for
enhancing of student characteristics in Upright school project : Case study of
Banchiangwittaya school Udonthani Province included (1) principles/ concepts of
guidelines for using social credit system based on “Banchiang Cultural animation
activities” (2) Driving the using social credit system based on innovative areas
enhance to student characteristics in Upright school project (3) Supervision and
follow-up of activities; and (4) outcomes that occur to learners.
Results of assessment and certification to guidelines for using social
credit system on innovative areas for enhancing of student characteristics in Upright
school project : Case study of Banchiangwittaya school Udonthani Province which
developed from 5 experts in all 4 items of consideration, it was found that the
average score. The total in all aspects was 4.94 at the highest level.
General recommendations are: 1) giving trust, accepting, rejoicing,
praising, encouraging, encouraging 2) giving and creating opportunities to express their
knowledge and abilities creatively on various occasions, 3) promoting the abilities and
outstanding of each student for create motivation to express their aptitudes in other
fields. 4) To enhance pride together and disseminate their work to the world. by
publicizing various forms through various media to the world
Policy proposals are: 1) The office of the Basic Education
Commission and other agencies should drive social credit systems in educational
institutions and agencies across the country, to respond to the national strategy
under the Master Plan on National Strategic Issues, Issue 10, included studying new
mechanisms to create incentives, such as social credit systems; 2) The government
should create incentives; by using the social credit system to continue the national
policy and strategy driven under the Master Plan on National Strategic Issues, Issue
10.
Suggestions for next research 1) There should be a broader research
study on guidelines for the use of the social credit system at the level province or
country levelฉ
2) There should be a study on the official pattern of social credit system
usage and take the pattern trial in a model community to create an innovative space
for a model social credit system 3) There should be a research study on the use of
social credit system integrated with existing projects in each community.