เรื่อง: แนวทางการพัฒนาหลักสูตรการฝึกฟื้นฟูเป็นหน่วยกองร้อยทหารพราน ของหน่วยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน,The guideline for curriculum development of paramilitary company training of Marine parmilitary task force
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. อุทัย ยังวิลัย ร.น.
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง : แนวทางการพัฒ นาหลักสูตรการฝกฟนฟูเปนหนวยกองรอยทห ารพราน
ของหนวยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน
โดย : นาวาเอก อุทัย ยังวิลัย
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารยที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พลตรี
(ศุภธัช นรินทรภักดี)
กรกฏาคม ๒๕๖๒
การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค=เพื่อศึกษาแนว
ทางการพัฒนาหลักสูตรการฝกฟนฟูเปนหนวยกองรอยทหารพราน ของหนวยเฉพาะกิจทหารพราน
นาวิกโยธิน และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการฝกฟนฟูเปนหนวยกองรอยทหารพราน
ของหนวยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน โดยศึกษาคนควาจากทฤษฎี ตํารา แนวคิด คูมือ เอกสาร
และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แลวนํามาวิเคราะห= ออกแบบเครื่องมือวิจัย ไดแก การสัมภาษณ=เชิงลึก
(In-depth Interview) การรวบรวมขอมูลจากเอกสาร (Documents) ในลักษณะ (Documentary
Research) และใหผูเชี่ยวชาญจํานวน ๓ ทาน พิจารณาขอคําถาม จากนั้นนําผลการตรวจสอบของ
ผูเชี่ยวชาญแตละทานมาคํานวณ หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา กลุมตัวอยางที่ใหขอมูล (In-depth
Interview) เปนการเลือกแบบเจาะจง ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูและประสบการณ=ในการ
ปฏิบัติงาน ทั้งดานการศึกษา และการฝก จํานวน ๖ คน เพื่อใหขอมูลครอบคลุมประเด็นการวิจัย
การวิเคราะห=ขอมูลเชิงลึก(In-depth Interview) การรวบรวมขอมูลจากเอกสาร (Documents)
วิเคราะห=ขอมูลโดยการสังเคราะห=เนื้อหาดวยการจัดหมวดหมู และจัดลําดับรายประเด็น และนํามาเขียน
เรียบเรียง ผลการวิจัยสรุปไดวา หลักสูตรการฝกฟ นฟู เปนหนวยกองรอยทหารพราน
ยังคงมีความสําคัญตอหนวยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน และเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ
หลักสูตรใหมากขึ้นจึงเห็นควรกําหนดแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรการฝกฟนฟูเปนหนวยกองรอย
ทหารพรานของหนวยเฉพาะกิจทหารพรานนาวิกโยธิน ดวยการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรใหมี
ความทันสมัย สามารถตอบสนองการปฏิบัติงาน และการใชกําลังของ กปช.จต. ไดอยางรวดเร็วและ
มีประสิทธิภาพ จําเปนตองมีการพัฒนาบุคลากรของหนวยทั้งในระดับผูบังคับบัญชา ครูฝก
และผูเขารับการฝก ใหมีความพรอมและมีทัศนะคติที่ดีในเรื่องการศึกษาควบคูไปดวย รวมทั้งจัดใหมี
การบูรณาการดานครูผูสอน และวิทยากร ในการถายทอดความรูรวมกับหนวยเหนือ หนวยขางเคียง
ขาราชการ พลเรือน ตํารวจ อีกทั้งการใชสื่อการเรียนการสอน และเครื่องชวยฝกตองมี
จํานวนเพียงพอ และมีความทันสมัย ใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยจัดการเรียนการสอนมากขึ้น
สนับสนุนใหมีการจัดทําระบบการจัดการความรู ( KM ) ภายในหนวยใหครอบคลุมหัวขอสําคัญตางๆ
และมีความจริงจังตอการประเมินผลของหลักสูตรโดยใชคณะกรรมการกลาง และมีการเก็บรวมรวมผล
การประเมิน ผลการปฏิบัติ สถิติตางๆ อยางตอเนื่องเพื่อใชเปนขอมูลในการพิจารณาปรับปรุง พัฒนา
หลักสูตรในครั้งตอไป ABSTRACT
Title : The guideline for curriculum development of paramilitary
company training of Marine paramilitary task force
By : Captain Uthai Youngwilai
Major Field : Military
Research Advisor : Major General
(Supathat Narindarabhakdi)
July 2019
The guideline for curriculum development of paramilitary company training
of Marine paramilitary task force is qualitative research for reinforce performance and
suggest new direction of training subject by study from theories, handbooks, reference
documents and related research. Identification and tooling design for analysis is established from In-depth interview, Documentary research and proved by 3 experts
for make application. Afterwards, approval result must be calculated in content
accuracy. In-depth interviewer is 6 exclusive people be expertise and proficiency in
operation, skillful and training. Analysis method, In-depth interview and compile
documents, analyze via modulated group of data, point of view and rewrite.
This research represent paramilitary company training of Marine paramilitary
task force is essential subjects for Marine paramilitary task force. Reinforcement of this
subjects must be guided only for special force by development and reformation for
modernize training course that response to operation immediately and efficiently in
actual performance. Chantaburi & Trat Border Defense command’s performance is
explicated from human development in attitude and preparedness on commander,
trainer and trainee, integration with related units as public official, police and people.
Moreover, training equipment should be enough, trendy and use new technology for
enhancing training result. Encouragement training system by Knowledge Management
(KM) inside unit for include highlight topics and compiling documents as related data
and evaluation result for intense evaluated of training subjects from central board in
continuously that might be used for reinforcement and development in another
situation.
abstract:
ไม่มี