เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการโรงไฟฟ้าชีวมวลสู่การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ,Study of Biomass Power Plant’s Management Guidelines for Efficient Development
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย อดิศักดิ์ ชูสุข
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง : แนวทางการบริหารจัดการโรงไฟฟ้าชีวมวลสู่การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
โดย : นายอดิศักดิ์ชูสุข
สาขาวิชา : ความมั่นคงแหงชาต ่ ิ
อาจารย์ทปรี่ กษาเอกสารว ึ ิจัย : พันเอก
(ดิษพงศ์โชตะมังสะ)
กรกฎาคม ๒๕๖๒
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์สําคัญ เพื่อศึกษาศึกษาปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการ
ของโรงไฟฟ้าชีวมวล แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการและการผลิต และ เสนอแนวทางการ
บริหารจัดการโรงไฟฟ้าชีวมวลสู่การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth
Interviews) (๑)ผู้แทนภาครัฐ (ผู้กําหนดนโยบาย) ได้แก่ ผู้บริหารของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน และ (๒)ผู้แทนภาคเอกชน (ผู้ปฏิบัติตามนโยบาย) ได้แก่ ผู้แทนสภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าชีวมวล และ การศึกษาเอกสาร/ผลการศึกษาที่
เกี่ยวข้อง จากนั้นดําเนินการการวิเคราะห์ข้อมูล ตีความ แบบ Triangulation
ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า
ปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการของโรงไฟฟ้าชีวมวลเกิดจาก ๒ ส่วน คือ (1)ปัญหาและ
อุปสรรคที่เกิดจากภาครัฐ ประกอบด้วย (ก)การบูรณาการข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ข)การกําหนด
เงื่อนไขในการรับซื้อไฟฟ้าที่กว้างเกินไป (ค)การกําหนด Zone รับซื้อไฟฟ้าค่อนข้างกว้าง (ง)ขาดการ
พัฒนาบุคลากรเข้าสู่โรงไฟฟ้าอย่างเป็นระบบ และ (2)ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากผู้ประกอบการ
โรงไฟฟ้า ประกอบด้วย (ก)ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าบางส่วนขาดองค์ความรู้ก่อนสร้างโรงไฟฟ้า (ข)บริหาร
จัดการภายในองค์กรไม่ดี
แนวทางการบริหารจัดการโรงไฟฟ้าชีวมวลสู่การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ มี 2 ประเด็น
คือ (1)ภาครัฐ ต้องสนับสนุนผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าชีวมวล ด้วยการบูรณาการข้อมูลของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง กําหนดเงื่อนไขในการรับซื้อไฟฟ้าให้ชัดเจน กําหนดโครงสร้างราคารับซื้อไฟฟ้าที่เหมาะสม
สอดคล้องกับต้นทุน จัด Zoning โรงไฟฟ้าด้วยฐานข้อมูลของเชื้อเพลิง และ การพัฒนาบุคลากรเข้าสู่
โรงไฟฟ้า (2)ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้า ต้องบริหารจัดการภายในองค์กรโรงไฟฟ้าชีวมวลให้ดีและต้องมี
องค์ความรู้ก่อนสร้างโรงไฟฟ้าABSTRACT
Title : Study of Biomass Power Plant’s Management Guidelines for Efficient
Development
By : Mr. Adisak Choosuk
Major Field : National Security
Research Advisor : Colonel..................................................
(Disphong Chotamungsa)
August 2019
This research significantly purposes to study for problems and obstacles in
biomass power plant’s managements, with corresponding administration theory,
including proposing of efficiently biomass power plant development guidelines.
This study is a qualitative research, which mainly consists of in-depth
interviewing from 1) Government sector (policy maker) 2) Private sector (The
Federation of Thai Industries’ representative and Biomass Power Plant Association),
with literature reviewing. Then, triangulation data analysis was carried out.
The study results that problems and obstacles in biomass power plant
management came from 2 principle parts: 1) Problems occurred from government, which
are a) data integration from relating departments b) widely power purchasing regulations c)
widely power purchasing zoning d) lacking in systematic power plant capacity building, and
2) Problems occurred from power plant investors, which are 1) Entrepreneurs have lacking in
power plant-related knowledge 2) Plant’s internal management is inferior.
Accordingly, the guidelines for efficient biomass power plant development
contain 2 issues, which are 1) government sector should contribute biomass power
plant entrepreneurs by data integrating from relating departments, appointing clearly power
purchasing regulations, specifying appropriate electricity purchasing that in line with
production cost, define purchasing zoning, as well as personnel’s capacity building. For
private sector, the entrepreneurs should emphasize on plant management and
administration, as well as power plant knowledge development.
abstract:
ไม่มี