Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังพลเพื่อแก้ไขการขาดแคลนกำลังพลในระดับปฎิบัติงานของกองทัพบก,Guidelines for developing a personnel management system to remedy the problem of personnel shortages at the operational level of the Royal Thai Army

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. นิธินันท์ ฤทธิ์ชัยทิพย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง : แนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังพลเพื่อแก้ไขการขาดแคลนก าลังพลใน ระดับปฏิบัติงานของกองทัพบก โดย : พันเอก นิธินันท์ ฤทธิ์ชัยทิพย์ สาขาวิชา : เอกสารวิจัย อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (เอกภพ ภาณุมาศตระกูล) กรกฏาคม ๒๕๖๒ กองทัพบกได้จัดท าแผนพัฒนากองทัพบก ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ เพื่อเป็นกรอบและแนวทางใน การด าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมให้กับแต่ละส่วนราชการของกองทัพบก ใน ด้านก าลังพลก าหนดนโยบายจัดหาและบรรจุก าลังพลปีงบประมาณ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ให้เป้าหมายของ การจัดหาก าลังพลนายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวนมีสถานภาพก าลังพลไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของอัตราอนุมัติจากข้อมูลเมื่อ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ พบว่า นายทหารสัญญาบัตรชั้นยศพันโท-พล เอกบรรจุร้อยละ ๘๙.๑ ชั้นยศสิบตรี-พันตรีบรรจุร้อยละ ๖๗. ๖๖ (ก าลังพลระดับปฏิบัติงาน) ซึ่งจะเห็น ได้อย่างชัดเจนว่าก าลังพลในระดับปฏิบัติงานที่เป็นก าลังส าคัญของหน่วยนั้น มีอัตราการบรรจุที่ต่ ากว่า เป้าหมาย จนน่าเป็นห่วงผลกระทบต่อภารกิจของกองทัพบก เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาปัญหาด้านการบริหารจัดการก าลังพลในระดับ ปฏิบัติงานของ ทบ. ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้แนวทางปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการก าลังพลให้มีความ พร้อมในการปฏิบัติภารกิจตามแผนพัฒนา ทบ. พ. ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีด าเนินการวิจัยใช้การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่ เกี๋ยวข้อง (Documentary Research)และการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth Interview) จากผู้เกี๋ยวข้อง เรื่องการด าเนินงานด้านก าลังพลของกองทัพบก ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุที่ท าให้เกิดความขาดแคลนก าลังพลในระดับปฏิบัติงานของ กองทัพบกเกิดจากการบรรจุก าลังพลจากแหล่งผลิตของสถาบันหลักใน ทบ. ทั้ง รร.จปร. และ รร.นส. ทบ. ไม่เพียงพอกับความต้องการและไม่สอดคล้องกับความต้องการของหน่วย ระบบปลดถ่ายก าลังพลที่ ยังไม่เอื้ออ านวยและไม่สอดคล้องกับโครงสร้างการจัดหน่วยของกองทัพ รวมทั้งมาตรการรักษายอด ก าลังพลในการบรรจุก าลังพลทดแทนการสูญเสียในปัจจุบันเป็นเพียงไม่ให้ยอดก าลังพลลดลงกว่าเดิม เท่านั้น ผู้วิจัยได้เสนอแนวคิดทางในการพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังพลเพื่อแก้ไขการขาดแคลน ก าลังพลในระดับปฏิบัติงานของกองทัพบกที่ส าคัญคือกองทัพบกควรริเริ่มรายงานหน่วยเหนือเพื่อขอ แก้ไขระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการแต่งตั้งยศและการเลื่อนยศของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๔๑ โดย ให้มีการเพิ่มหรือลดระยะการครองยศแต่ละชั้นยศดังกล่าวรวมถึงกองทัพบกควรต้องน าระบบปลดถ่าย ก าลังพลรูปแบบใหม่มาปรับใช้โดยให้มีการบังคับเกษียณอายุก่อน ๖๐ ปีและควรปรับปรุงพัฒนา โครงการเกษียณอายุราชการก่อนก าหนดของข้าราชการทหารโดยก าหนดกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งหน่วยที่ ต้องการให้ลาออกอย่างชัดเจนAbstract Subject : Guidelines for the development of a management system to solve overlapping problems at the operational level of the Army Author : Colonel Nitinan Rittachaithip Major Field : Research Advisor to research : Colonel (Ekkapop Panumastrakul) July 2019 The Royal Thai Army has created the Army Development Plan for the year 2017- 2021 to be a framework and guidelines for Operate in relation to the preparation for each government of the Army. In the field of personnel, the policy of recruiting and packing personnel for fiscal year 2017-2021 provides the goal of recruiting personnel, commissioned officers and non-commissioned officers with the status of personnel of not less than 80 percent of the approval rate. From the data on September 30, 2018, it was found that the officers commissioned the rank of Lieutenant-Colonel-General, containing 89.1 per cent of the rank of Major-Major, containing 67.66 percent (personnel at the operational level) which would be clearly visible. That the personnel at the operational level is the main force of that unit Has a lower filling rate than the target until it worries the impact of the Army's mission This document is intended to be To study the problems of personnel management at the operational level of the current bureaucracy in order to obtain guidelines to improve the development of the personnel management to be ready for the mission according to the development plan 2017 -2021 This research is a qualitative research. The method of research is used to collect data from related documents (Documentary Research) and in-depth interviews (in-depth Interview) from the concerned military personnel The research found that The reason for the lack of manpower at the operational level of the Army was due to manpower from the main production institutions in the Army. Want and do not correspond to the needs of the unit The unloading and unloading systems that are not yet compatible with the army unit structure Including measures to maintain the amount of personnel in the manpower to replace the current loss is only not to reduce the number of troops than before The researcher proposed the concept of developing a personnel management system to solve the shortage of personnel at the operational level of the Army. The main thing is that the Army should initiate the report of the Northern Command to request amendments to the Defense Ministry regulations on Appointment of rank and promotion of government officials, BE 2541 (1998) by increasing or decreasing the rank of rank for each rank, including the army, should have to remove the capture system Whether the new model was adapted for use by the forced retirement before 60 years old and should be retired early development of the military targets as well as units that need to resign is clear.ค าน า ทรัพยากรบุคคลถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญที่สุดของหน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่ระดับใหญ่สุด จนถึงขนาดเล็กสุดเนื่องจากความล้มเหลวหรือส าเร็จของหน่วยงานใดๆย่อมขึ้นอยู่กับขีดความสามารถ ตลอดจนการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานนั้นๆเป็นส าคัญเฉกเช่นเดียวกับกองทัพบกซึ่งเป็น หน่วยงานด้านความมั่นคงมีภารกิจจ านวนมาก ตั้งแต่การป้องกันภัยคุกคามจากภายนอกประเทศการ รักษาความสงบภายในการพัฒนาประเทศตลอดจนภารกิจอื่นๆ ที่รัฐบาลมอบหมาย ดังนั้นการที่ กองทัพบกจะสามารถปฏิบัติภารกิจให้บรรลุตามที่ได้รับมอบหมายหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ต่างๆที่เกี่ยวข้องแต่องค์ประกอบที่ส าคัญยิ่งที่จะเป็นตัวชี้วัดย่อมหนีไม่พ้นองค์ประกอบด้านทรัพยากร บุคคลหรือก าลังพลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณรวมถึงระบบการบริหารจัดการก าลังพลที่เหมาะสม อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่ากองทัพบกยังคงประสบปัญหาการด้านการบริหารจัดการ ก าลังพลในด้านต่างๆโดยเฉพาะปัญหาที่ส าคัญยิ่งคือการขาดแคลนก าลังพลในระดับปฏิบัติงาน (ชั้นยศ ส.ต.-พ.ต.) ซึ่งปัญหาดังกล่าวหากไม่ได้รับการแก้ไขในห้วงเวลาและโอกาสอันเหมาะสมแล้วแน่นอนว่า ย่อมส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของหน่วยในที่สุดด้วยสาเหตุดังกล่าวจึงเป็นแรงจูงใจให้ผู้วิจัย ต้องการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องของปัญหาดังกล่าวทั้งนี้เพื่อหาแนวทางและข้อเสนอแนะที่สามารถปฏิบัติ ได้จริงภายใต้ข้อจ ากัดในด้านต่างๆ โดยเฉพาะกรอบประมาณประจ าปีที่หน่วยได้รับ เพื่อเสนอแนะเป็น ข้อมูลให้กองทัพบกพิจารณาด าเนินการตามความเหมาะสมต่อไป ผู้วิจัยหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกองทัพบกรวมถึงเหล่าทัพหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่มีปัญหาในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้หากมีข้อบกพร่องประการใดผู้วิจัยขอน้อมรับและต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ พันเอก ( นิธินันท์ ฤทธิ์ชัยทิพย์) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๖๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ กกิตติกรรมประกาศ เอกสารวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังพล เพื่อแก้ไขการขาดแคลน ก าลังพลในระดับปฏิบัติงานของกองทัพบกเล่มนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาด้านการบริหารจัดการ ก าลังพลในระดับปฏิบัติงานของ ทบ. ซึ่งจะท าให้ได้แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการ ก าลังพลให้มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจตามแผนพัฒนา ทบ. พ. ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ การจัดท าเอกสารวิจัยครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์และความกรุณาอย่างสูงจาก พล.ต. ก าธร บุญทอง ผอ.ส านักนโยบายและแผน กพ.ทบ., พ.อ.(พ) ฤทธิรณ ศรีภัคดี ผอ.กพ.ทบ., พ.อ.(พ) อาจิณ ปัทมจิตร ผบ.กรม ม.๕ รอ., พ.ต. กิตติภพ เลี่ยวไพโรจน์ นายทหารฝ่ายยุทธการและการข่าว ส.พัน.๑๒ และ จ.ส.อ. เด่นพงษ์ วงษ์ธรรม จ่ากองร้อย ส.พัน.๑๒ ที่ให้ข้อมูลส าหรับการวิจัยครั้งนี้ พันเอก (พิเศษ) เอกภพ ภาณุมาสตระกูล อาจารย์ที่ปรึกษา พันเอก(พิเศษ) ราชัน สุนทรเมือง ที่ปรึกษารวมทั้ง คณาจารย์ที่เป็นคณะกรรมการที่ได้ให้ค าแนะน าข่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง จนท าเอกสารฉบับ นี้มีเนื้อหาสาระและรูปแบบการวิจัยที่สมบูรณ์ซึ่งผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ พันเอก ( นิธินันท์ ฤทธิ์ชัยทิพย์) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหารรุ่นที่ ๖๐ กรกฏาคม ๒๕๖๒ ขสารบัญ หน้า ค าน า ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญแผนภาพ ง สารบัญตาราง จ บทที่ ๑ บทน า ๑ ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓ ขอบเขตของการวิจัย ๔ ระเบียบวิธีวิจัย ๔ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๔ นิยามศัพท์ ๔ บทที่ ๒ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ๖ พันธกิจของกองทัพบก ๖ แผนพัฒนากองทัพบก ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ด้านการบริหารก าลัง ๖ สถานการณ์ด้านก าลังพลในระดับปฏิบัติงานของกองทัพบก ๑๑ แนวคิดและทฤษฎีเชิงพฤติกรรมองค์การ ๑๓ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ๒๗ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความขาดแคลนก าลังพลในระดับปฏิบัติงาน ๒๙ กรอบแนวคิดการวิจัย ๓๐ บทที่ ๓ วิธีการด าเนินการวิจัย ๓๑ วิธีการวิจัย ๓๑ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ๓๒ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓๒ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๓๕ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ๓๖ คสารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ ๔ ผลการวิจัย ๓๗ ผลการรวบรวมข้อมูล ๓๗ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๔๒ บทที่ ๕ สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ ๔๖ สรุปผลที่ได้จากการวิจัย ๔๖ อภิปรายผลการวิจัย ๔๙ ข้อเสนอแนะ ๕๐ บรรณานุกรม ๕๑ ภาษาไทย ภาคผนวก ๕๒ ผนวก ก ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วย การแต่งตั้งยศและการเลื่อนยศ ของข้าราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑ ผนวก ข แบบสัมภาษณ์ ผนวก ค ภาพการสัมภาษณ์ ประวัติย่อผู้วิจัย ๗๑ สารบัญแผนภาพสารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หน้า ๑. แสดงสัดส่วนยอดการบรรจุก าลังพล ณ ก.ย ๖๑ ๑๒ ๒. กรอบแนวคิดในการวิจัย ๓๐ งสารบัญตารางสารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ๑. เปรียบเทียบแนวทางการเพิ่มระยะการครองยศ นายทหารสัญญาบัตร ๔๕ ๒. เปรียบเทียบแนวทางการเพิ่มระยะการครองยศ นายทหารสัญญาบัตร ๔๘ จ

abstract:

ไม่มี