Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนำเทคโนโลยีไบโอเมตริกมาใช้ในการสร้างเสริมพื้นที่ปลอดภัยใน จชต.,Guideline to use "Biometric technology" to make "Safety and Security Area" in Southern Border Provinces

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. กาญจนะดิษฐ์ ใยเกตุ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

เอกสารวิจัย เรื่อง แนวทางการน าเทคโนโลยีไบโอเมตริกมาใช้ในการ สร้างเสริมพื้นที่ปลอดภัยใน จชต. Guideline to use “Biometric technology” to make “Safety and Security Area” in Southern Border Provinces โดย พันเอก กาญจนะดิษฐ์ ใยเกตุ เสนอ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร เพื่อประกอบการศึกษาตามหลักสูตรเสนาธิการทหารรุ่นที่ ๖๐ พ.ศ.๒๕๖๒บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการน าเทคโนโลยีไบโอเมตริกมาใช้ในการสร้างเสริมพื้นที่ปลอดภัยใน จชต. โดย : พันเอก กาญจนะดิษฐ์ ใยเกตุ สาขาวิชา : เทคโนโลยี อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ชวลิต ประดิษฐ์นวกุล) กรกฎาคม ๒๕๖๒ การด าเนินงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริก เสริมประสิทธิภาพให้กับกล้องวงจรปิด เชื่อมโยงฐานข้อมูลผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่ จชต. เพื่อป้องกัน และ เป็นหลักฐานในการจับกุมผู้ก่อความไม่สงบ รวมทั้งเป็นการแจ้งเตือนหน่วยงานในพื้นที่แต่เนิ่น ในมาตรการ เสริมสร้างพื้นที่ปลอดภัยใน จชต. ให้เกิด “พื้นที่ปลอดภัย” ได้อย่างชัดเจน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมทฤษฎี และการด าเนินการโดยใช้เทคโนโลยีไบโอ เมตริกในการช่วยเสริมสร้างความปลอดภัย และใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ รวมทั้งการสัมภาษณ์เพื่อศึกษา ปัญหาในการจับกุมผู้ก่อความไม่สงบ การใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริกในงานด้านการรักษาความปลอดภัย และ การทหาร น าไปสู่แนวทางในการใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริกพื่อเสริมสร้างพื้นที่ปลอดภัยใน จชต. โดยรวบรวม ข้อมูล ๒ ประเภท ประเภทแรกได้จากขอข้อมูลจากแหล่งข้อมูลเปิดและหน่วยงานของรัฐในการใช้ เสริมสร้างประสิทธิภาพในด้านต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริก และประเภทที่สอง จากการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ที่ด าเนินการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ จชต. เช่น สมช. กอ.รมน.ภาค ๔ ศอ.บต. และ ผู้ปฏิบัติงานด้านความมั่นคงใน จชต. ผลจากการวิจัยพบว่า แนวทางในการเสริมประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ จชต. การน าเทคโนโลยีไบโอเมตริกจะช่วยในการตรวจหาบุคคลที่มีประวัติตามข้อมูลอาชญากร และข้อมูล ด้านความมั่นคงอื่นๆได้ ถ้าได้รับการจัดวางระบบกล้องวงจรปิดที่เหมาะสม และฐานข้อมูลต่างๆมีความ ทันสมัย สามารถเข้าถึงได้ตามความเหมาะสมของผู้ปฏิบัติงาน ทั้งนี้การด าเนินการต่างๆจะต้องสอดคล้อง กับบริบทเฉพาะ ในพื้นที่ จชต. การแก้ไขปัญหาหากมีการบูรณาการร่วมกันทั้งระบบ เช่น การจัดท า IPB หรือ JIPOE ร่วมกัน เพื่อก าหนดพื้นที่ในการด าเนินการ โดยจะต้องพิจารณาปัจจัยด้านทัศนคติในแต่ละ ชุมชน/พื้นที่ ให้ถูกต้องเพื่อหน่วยยุทธวิธีสามารถปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม กระบวนการแก้ปัญหาในปัจจุบัน มีหน่วยงานที่ดูแลครอบคลุมทุกมิติของปัญหา แต่หากด าเนินการผิดพลาดจะส่งผลในการแก้ไขปัญหาใน ระยะยาว เช่น กรณีกรือเซะ และ กรณีตากใบ การด าเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น ควรมีการ ก าหนดเป้าหมายการด าเนินงานร่วมกัน และมีหน่วยงานที่ควบคุม สั่งการ ก ากับดูแลการปฏิบัติเพียง หน่วยงานเดียวABSTRACT Title : Guideline to use “Biometric technology” to make “Safety and Security Area” in Southern Border Provinces By : Colonel Kanjanadit Yaigate Major Field : Technology Research Advisor : Colonel (Chavalit Praditnawakul) July 2019 Conducting this research, the objective is to study the application of biometric technology. Enhance the efficiency of CCTV Linking the insurgent database in the area to prevent and serve as evidence in the arrest of insurgents as well as being alerted to agencies in the area early In the measures to strengthen the safety area in the border area to create a "safe area" clearly. This research is a qualitative research, combining theory and operation using biometric technology to help strengthen safety. And used to solve various problems Including interviews to study the problems of arresting insurgents. The use of biometric technology in the field of security and military work leads to guidelines for using biometric technology to strengthen the safe areas in Southern Border Provinces. By collecting 2 types of information. The first type can be obtained from requesting information from open sources and government agencies to use to enhance efficiency in various fields. By using biometric technology. The second type by indept-interview people who proceeds to resolve the insurgent in Southern Border Provinces include Office of the National Security Council, Internal Security Operations Command Area 4, Southern Border Provinces Administration Centre and Law Enforcement in Southern Border Provinces. The results of the research showed that Guidelines for enhancing the efficiency in resolving Insurgency in Southern Border Provinces. The introduction of biometric technology will help to detect people who have a history based on criminal information. And other security information. If receiving a proper CCTV system and various databases are up-to-date Can be accessed as appropriate by the operator. The various operations must be consistent with the specific context in Southern Border Provinces. Solving problems if integrating the whole system such as IPB or JIPOE. To determine the area of operation along with Community or Area correctly for tactical units to be able to perform properly. The problem-solving process at present, there are agencies that oversee all dimensions of the problem. But if a mistake is made, it will result in a long-term solution such as in case of Krue Se Mosque and Tak Bai. The operations of the relevant agencies there should be a set of operational goals together. And there is a unit that controls and directs the supervision of only one Command.ก ค าน า ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีความต้องการให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามต่างๆ ทุกมิติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร แตกต่างกันไปตาม บริบทแวดล้อมของแต่ละห้วงเวลา และทุกระดับตั้งแต่ระดับประเทศจนถึงระดับปัจเจกบุคคล หรือเรียกกรอบแนวความคิดด้านความมั่นคงนี้ว่า “ความมั่นคงแบบองค์รวม” ซึ่งปัญหาความมั่นคงที่ส าคัญที่ส่งผลต่อความมั่นคง และเกิดการสูญเสียต่อชีวิต และทรัพย์สินที่ส าคัญ ได้แก่ “ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้” แนวทางการใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริกโดยการด าเนินการร่วมกับระบบกล้องวงจรปิด และ ฐานข้อมูลผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่ จชต. เป็นแนวทางที่จะช่วยให้สามารถแจ้งเตือนแก่หน่วยงานด้านความ มั่นคง เพื่อป้องกันผู้ก่อความไม่สงบ ด าเนินการก่อเหตุร้ายในพื้นที่ รวมทั้งสามารถเป็นหลักฐานใน การติดตาม จับกุม ผู้ก่อความไม่สงบ อันจะน าไปสู่การเสริมสร้าง “พื้นที่ปลอดภัย” ให้เกิดขึ้นใน จชต. ได้ อย่างเป็นรูปธรรม พันเอก (กาญจนะดิษฐ์ ใยเกตุ) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๖๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับแรงงบันดาลใจจากการที่เคยร่วมอยู่ในคณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง ซึ่ง พลเอกวรพงษ์ สง่าเนตร ประธานกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ท่านได้เห็นว่าปัญหาหลักที่จะกระทบต่อการด าเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงปัญหาหนึ่ง คือ “ปัญหาความไม่สงบใน จชต.” และประกอบกับแนวความคิดหนึ่งที่กล่าวถึงในการประชุมคณะกรรมการ จัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง คือ การใช้เทคโนโลยีไบโอเมตริก ในระบบ Social Credit ดังที่ รัฐบาลจีนสามารถท าส าเร็จในเมืองใหญ่ต่าง หากได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทใน จชต. จะสามารถ สร้าง “พื้นที่ปลอดภัย” ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้อีกทั้งต้องขอขอบพระคุณ ท่านพลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร ท่านพลเอก สมชาย วัชรานาถ และ นาวาอากาศเอก เนติภัทร์ ภัทรกุลชัย อาจารย์ที่ปรึกษาภายนอก ที่ได้ กรุณาให้ค าแนะน าที่มีคุณค่าในงานวิจัยนี้ อีกทั้งความสมบูรณ์ของงานวิจัยนี้ไม่อาจลุล่วงไปได้ หากไม่ได้รับการสนับสนุนข้อมูลอันส าคัญยิ่ง ด้วยการสัมภาษณ์จาก คุณนันทพงศ์ สุวรรณรัตน์ พันเอก สมเดช โยธา พันเอก วรเศรษฐ์ เจริญผล พันเอก สุพรเทพ ไชยยงค์ และคุณสุนิสา แพรภัทรประสิทธิ์ รวมทั้งข้อมูลเอกสารวิทยาการที่เกี่ยวข้องจาก ส านักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ ดังนั้นจึงขอขอบพระคุณทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ บัดนี้ผู้วิจัยได้บรรลุผลส าเร็จตามความประสงค์ที่ตั้งไว้แล้ว ขออานิสงค์อันเกิดจากคุณประโยชน์ จากเอกสารวิจัยฉบับนี้ จงบังเกิดต่อผู้มีพระคุณยิ่งต่อผู้วิจัย หากมีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดในส่วนหนึ่งส่วน ใดเกิดขึ้นในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยขอน้อมรับไว้และจะขอปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นในโอกาสต่อไป สุดท้ายนี้ ขอบขอบคุณสมาชิกในครอบครัวของข้าพเจ้าที่คอยเป็นก าลังใจด้วยดีเสมอต้นเสมอปลาย คอยให้ก าลังใจในการศึกษา และการท าเอกสารวิจัยในครั้งนี้ค สารบัญ หน้า ค าน า ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทที่ ๑ บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๒ ขอบเขตของการวิจัย ๒ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๒ นิยามศัพท์ ๓ กรอบแนวคิดการวิจัย ๔ บทที่ ๒ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หลักการระบบไบโอเมตริก ๕ หลักการในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ ๑๕ เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ ๒๙ สรุปการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ๓๖ บทที่ ๓ วิธีการด าเนินการวิจัย วิธีการวิจัย ๓๗ ๑. การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) ๓๘ ๒. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ๓๘ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓๙ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓๙ ประเด็นส าคัญในการวิจัย ๔๐สารบัญ (ต่อ) หน้า การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย ๔๑ ๑. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารวิชาการและจากสื่อสารสนเทศ ๔๑ ๒. การเก็บรวบรวมจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ๔๑ การวิเคราะห์ผลการวิจัย ๔๒ บทที่ ๔ ผลการวิจัย ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารวิชาการและจากสื่อสารสนเทศ ๔๓ ผลการเก็บรวบรวมจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ๔๖ สรุปผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูลและการสัมภาษณ์เชิงลึก ๕๑ บทที่ ๕ สรุป อภิปลายผล และ การสัมภาษณ์ สรุปผลการวิจัย ๕๒ อภิปลายผลการวิจัย ๕๒ ข้อเสนอแนะ ๕๓ บรรณานุกรม ภาษาไทย ๕๔ ประวัติย่อผู้วิจัย ๕๕ง สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ๒.๑ การเปรียบเทียบผลการใช้ไบโอเมตริกด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ๑๔ ๔.๑ สรุปประเด็นค าถามสาเหตุการก่อความไม่สงบ ๔๗ ๔.๒ สรุปประเด็นการด าเนินการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบใน จชต. ๔๗ ๔.๓ สรุปประเด็นการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบใน จชต. ๔๙ ๔.๔ สรุปประเด็นการใช้กล้องวงจรปิดเพื่อการป้องกันการก่อความไม่สงบและจับกุมผู้ต้องสงสัย ๕๐จ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ๑.๑ กรอบแนวความคิดในการวิจัย ๔ ๒.๑ การพิสูจน์ลายนิ้วมือ ๗ ๒.๒ การสกัดจุดเด่นในลายนิ้วมือ ๘ ๒.๓ การได้มาซึ่งภาพลายม่านตา ๙ ๒.๔ ลักษณะภาพลายม่านตา ๙ ๒.๕ ลักษณะภาพลายจอตา ๑๐ ๒.๖ การได้มาซึ่งภาพลายจอตา ๑๐ ๒.๗ การพิสูจน์ตัวบุคคลด้วยใบหน้า ๑๑ ๒.๘ การน าเข้าข้อมูลรูปทรงฝ่ามือ ๑๒ ๒.๙ การน าเข้าข้อมูลลักษณะลายเซ็น ๑๓ ๒.๑๐ พื้นฐานของการจัดองค์กรการก่อความไม่สงบ ๑๘ ๒.๑๑ แผนภาพความเชื่อมโยงการก่อความไม่สงบ ๓๑ ๒.๑๒ แผนภาพความเชื่อมโยงการก่อความไม่สงบแสดงในโปรแกรม UCINET ๓๑ ๒.๑๓ แสดงผลการค านวณความเป็นศูนย์กลางด้วย UCINET ๓๒ ๒.๑๔ แสดงผลการค านวณความเป็นศูนย์กลางด้วย PAJEK ๓๓ ๒.๑๕ ข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับการบันทึกด้วยโปรแกรม I2 ๓๓ ๒.๑๖ ตัวอย่างภาพการประมวลผลที่ได้จากโปรแกรม I2 ๓๔ ๒.๑๗ ตัวอย่างภาพการประมวลผลที่ได้จากโปรแกรม Palantir ๓๕ ๒.๑๘ การใช้ Palantir ร่วมกับระบบ GIS ๓๕ ๔.๑ การตรวจสอบบุคคลเข้าออกของ ตม. โดยใช้ข้อมูลใบหน้า ๔๓ ๔.๒ ระบบการตรวจสอบทะเบียนรถยนต์ ๔๔ ๔.๓ ระบบการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมด้วยบัตรประชาชน ๔๔ ๔.๔ ระบบเครดิตทางสังคมของประเทศจีน ๔๕ ๔.๕ ระบบการลงเวลาเข้ารับการศึกษา ๔๖ ๔.๖ ระบบการรายงานและสรุปยอดเข้ารับการศึกษา ๔๖

abstract:

ไม่มี