Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาการปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกของกองทัพเรือ,Development of The Amphibious Operation of The Royal Thai Navy

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ณัฐพงศ์ เกิดผลหลาก ร.น.
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง : การพัฒนาการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกของกองทัพเรือ โดย : นาวาเอก ณัฐพงศ์ เกิดผลหลาก สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อาทิตย์ เจนจบสกลกิจ) กรกฎาคม ๒๕๖๒ การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อจะน้าเสนอการปฏิบัติในการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทิน บกที่เหมาะสมกับ ทร. ซึ่งมีขั นตอนการด้าเนินการวิจัย ๗ ขั นตอนประกอบด้วย การก้าหนดแหล่งข้อมูล และก้าหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล การปฏิบัติในการปฏิบัติการสะเทินน ้า สะเทินบก แล้วน้าไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกตรวจสอบความเหมาะสม การใช้ก้าลังทหารในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีโอกาสเกิดขึ นได้ ซึ่งประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี จึงยังคงพัฒนาก้าลังทหาร ไว้ใช้เป็นเครื่องมือเจรจาต่อรอง ป้องปราม และใช้แก้ปัญหายาม เกิดสถานการณ์วิกฤติที่ไม่สามารถใช้แนวทางการเมืองแก้ไขได้ ซึ่งการใช้ก้าลังในการปฏิบัติการสะเทิน น ้าสะเทินบกนั นเป็นการใช้ก้าลังสะท้อนขีดความสามารถในการปฏิบัติการร่วมของกองทัพ ในการ พัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบก จึงต้องค้านึงถึงนโยบายยุทธศาสตร์ ระดับชาติ รวมถึงภัยคุกคามในอนาคต กฎ ระเบียบ แนวคิดการใช้ก้าลังรบของกองทัพ จากผลการวิจัย พบว่า การปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกของ ทร. ควรมี ๕ แบบคือ การโจมตีสะเทินน ้าสะเทินบก การ โจมตีโฉบฉวยสะเทินน ้าสะเทินบก การถอนตัวสะเทินน ้าสะเทินบก การแสดงลวงสะเทินน ้าสะเทินบก และการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงคราม โดยมีขั นตอนในการปฏิบัติ ๕ ขั นตอน เริ่มด้วยขั นการวางแผน ขั นการขึ นสู่เรือ ขั นการซักซ้อม ขั นการเดินทาง และขั นการปฏิบัติ และได้ ก้าหนดรูปแบบการจัดก้าลังไว้ทั งก้าลังทางเรือ ก้าลังรบยกพลขึ นบก และก้าลังทางอากาศ ซึ่งได้มีการ ก้าหนดรายละเอียดต่างๆ เพื่อเหมาะสมกับ ทร.โดยทั งทางด้านองค์บุคคล และองค์วัตถุ และส้าหรับการ ควบคุมบังคับบัญชาการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกนั นเพื่อความเหมาะสมและความคล่องตัว ข ควรที่จะให้ทัพเรือภาคเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติการ อีกทั งยังพบว่า ทร.เพียงเหล่าทัพเดียวไม่สามารถ ด้าเนินการได้ เนื่องจากขาดขีดความสามารถในการปฏิบัติการอากาศยุทธวิธี เช่น การบินลาดตระเวน รบ และการสนับสนุนทางอากาศอย่างใกล้ชิด อีกทั งก้าลังที่จะใช้ในการส่งผ่านไปเพื่อด้าเนินกลยุทธ ในแผ่นดินอาจไม่เพียงพอ ซึ่งจะต้องจัดก้าลังจาก ทบ. จึงเห็นได้ว่าการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบก และการปฏิบัติการต่างๆ ที่จะด้าเนินต่อเนื่องไปนั นมีความจ้าเป็นจะต้องใช้ขีดความสามารถในการ ปฏิบัติการร่วม ของทุกเหล่าทัพเพื่อให้การปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกประสบความส้าเร็จ ข้อเสนอแนะของงานวิจัยคือ ควรมีการศึกษา และปรับปรุง การปฏิบัติต่างๆ ในการ ปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกให้มีความทันสมัยเหมาะสมกับอาวุธ และยุทโธปกรณ์ของ ทร. ที่มีอยู่ เพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสูญเสียน้อยที่สุด พร้อมทั งจัดหาและ ปรับปรุง อาวุธ และยุทโธปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบกเพื่อให้มีความพร้อมในการ ปฏิบัติและควรมีการศึกษาและทดลอง การการปฏิบัติการสะเทินน ้าสะเทินบก ที่สนับสนุนการ ปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงคราม เช่น การอพยพประชาชนออกจากพื นที่วิกฤติ และการ ช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติเพื่อให้มีความพร้อมที่จะปฏิบัติได้ทันทีที่เกิดเหตุการณ์ค ABSTRACT Title : Development of The Amphibious Operation of The Royal Thai Navy By : Captain Nuttapong Kuardponlark, RTN. Major Field : Military Research Adviser : Group Captain (Artith Janejobsakonkit) July 2019 The purpose of this research is to present the appropriate amphibious operations for The Royal Thai Navy. Which has the process of conducting research 7 steps. Consists of defining data sources and defining the tools used in research, how to create research tools, examination of research tools, Interviews, analysis and data synthesis about operations in amphibious operations. Then brought to the amphibious operations specialist to check the suitability The military operation have a chance in Southeast Asia. All Countries in this region are still developing military power for negotiation, Suppress and Used to solve the problem of a crisis that Unable to use political solutions. The amphibious operation is the use of force to reflect the capability of the joint operations of the military. The developing amphibious operations capabilities have to consider about The National Strategy, future threats, rule and the military operation concept. From the research results, it was found that he amphibious operations of the Navy should have 5 types. Amphibious Assaults, Amphibious Raid, Amphibious Withdraw, Amphibious Demonstrate and MOOTW. The Amphibious Operation’s procedure is Planning Phase, Embarkation Phase, Rehearsal Phase, Movement Phase and Action Phase. And Formulating for Fleet, Landing Force Air Force and command control for amphious operation for RTN. This research found only RTN. Cannot proceed. Because ง RTN. lack of tactical air capability and forces to be used in passing on land. Amphious operation have to use all capability of RTA. RTN. RTAF. for this operation. Research suggestions is RTN. have to education and development all various practices in Amphibious operations. In order to be able to perform efficiently and least loss. As well as providing and improving weapons and equipment that used in amphibious operations. And should be studied and tried Amphibious operations supporting military operations other than war such as Non-combatant Evacuation Operation (NEO) and Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR). In order to be ready to act as soon as the event occurs.

abstract:

ไม่มี