Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการกำลังพลกองทัพอากาศ กรณีเข้ารับการศึกษาหลักสูตรการศึกษาทหารอาชีพ ,Professional Military Education (PME) ณ ต่างประเทศ,The approach to RTAF Personnel Management in Professional Military Education (PME) Aboard

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. จารุ ยั่งยืน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการบริหารจัดการก าลังพลกองทัพอากาศ กรณีเข้ารับการศึกษาหลักสูตร การศึกษาทหารอาชีพ Professional Military Education (PME) ณ ต่างประเทศ โดย : นาวาอากาศเอก จารุ ยั่งยืน สาขาวิชา : ด้านการทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อาทิตย์ เจนจบสกลกิจ) กรกฎาคม ๒๕๖๒ การวิจัยครั้งนี้มีที่มาจากกองทัพอากาศประสบปัญหาไม่สามารถส่งก าลังพลไปเข้ารับ การศึกษาหลักสูตรการศึกษาทหารอาชีพ ณ ต่างประเทศได้ตามข้อตกลงจากเวทีการเจรจาต่างๆ ส่งผล ให้กองทัพอากาศเสียโอกาสในการพัฒนาก าลังพลและเสียความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษายุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาศักยภาพในระดับต่างๆ ตลอดจนเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างศักยภาพก าลังพล รวมทั้งเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและก าหนดแนวทางการ บริหารจัดการก าลังพลกองทัพอากาศ กรณีเข้ารับการศึกษาหลักสูตรการศึกษา ทหารอาชีพ ณ ต่างประเทศ อย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้ ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้แก่ กลุ่มผู้ก าหนดนโยบาย กลุ่มผู้น า นโยบายสู่การปฏิบัติ กลุ่มผู้รับผิดชอบโดยตรง และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ ที่ได้มาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การก าหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ยังไม่ชัดเจน การจัดท าโครงการศึกษายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ก าลังพลขาดแรงจูงใจในการไปศึกษาเนื่องจากความไม่ชัดเจนในความเจริญก้าวหน้าในการรับราชการ ไม่ได้สร้างความพร้อมทั้งด้านภาษาและความรู้พื้นฐานของหลักสูตร ค่าใช้จ่ายในการด ารงชีพหรือ รับการศึกษาไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้บรรจุลงในต าแหน่งที่เหมาะสมตาม ความรู้ความสามารถที่ส าเร็จการศึกษา ตลอดจนยังไม่มีกระบวนการติดตามประเมินผล บทสรุปของงานวิจัยและการเสนอแนวทางการบริหารจัดการในเรื่องนี้ เริ่มจากการ ก าหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการส่งก าลังพลไปศึกษาให้ชัดเจนว่าเพื่อพัฒนาความรู้หรือเพื่อ พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จัดท าโครงการศึกษาให้ครบถ้วน ปรับปรุงระบบการคัดเลือก ให้สอดคล้องกับเป้าหมายล่วงหน้า ๒ ปีและจัดท าบัญชีรายชื่อแบบ On Call List เตรียมความพร้อม ทั้งด้านภาษาและความรู้พื้นฐาน ระหว่างศึกษาให้มีหน่วยงานที่คอยประสานและรับฟังปัญหาข้อขัดข้อง อย่างใกล้ชิด เมื่อส าเร็จการศึกษาแล้วบรรจุในต าแหน่งที่เหมาะสมกับความรู้ ตลอดจนให้มีการ ประเมินผลการด าเนินการทั้งระบบABSTRACT Title : The Approach to RTAF Personnel Management in Professional Military Education (PME) Aboard. By : Group Captain Jaru Yangyuen Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Arthit Janejobsakonkit) July 2019 This research has been conducted because of the problem that the Royal Thai Air Force was not able to send RTAF Personnel to join all of the Professional Military Education (PME) courses offered in aboard as the arrangements between the Royal Thai Air Force and allies Air Force or governments in several military meetings. This problem affected to both personnel development and international relations. The research objectives were to study national strategy and levels of potential and performance development plan including to review other studies and researches that are relevant to human resource and personnel development. Moreover, was to investigate problems and determined the approaches to systematically improve of RTAF personnel management in professional military education (PME) aboard. The research was carried out by the qualitative research method. The studies review and in-depth interview have been chosen. The primary data were collect from the populations of this study were the commanders who determine the policy, the delegate, the main practitioners, and other stakeholders. The secondary data were from the studies of concepts, theories, and relevant literature reviews. The study results revealed that 1) he purpose and objective were obscured, 2) the RTAF Education project was not extensive. 3) RTAF personnel lacked of motivation to study because of several reasons such as unclear direction of military career path after the graduation, the unprepared of foreigner language and the basic knowledge of the course, the insufficient allowances and course fees, the unmatched job assigned after graduation and the inadequate of tracking and evaluating process.In conclusion, the approaches to solve this problem are 1) to determine the clear purpose and objective sending RTAF personnel to join PME course in aboard whether to maintain national relations or to gain advantages knowledge and technologies, 2) to develop RTAF Education project and improve the scholar selection (on call list) at least 2 years in advanced in order to prepare foreign language and necessary knowledge, 3) to manage the department taking care of PME students during joining course aboard and to assign the suitable position to RTAF personnel after graduation including to evaluate all of the process of sending personnel to join PME course aboard.

abstract:

ไม่มี