Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในครูผู้สอนวิชาภาษาไทย สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 21,Knowledge Management : The Student's Literacy Development of Thai Subject Teacher in Border Patrol Police Sub - Division 21 School

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.ต.อ. อัทธชนม์ ช่วงงาม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

ก ค ำน ำ ต ำรวจตระเวนชำยแดนเป็นหน่วยรำชกำรในสังกัดส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติจัดตั้ง ขึ้นเมื่อ ๖ พฤษภำคม พุทธศักรำช ๒๔๙๖ ขึ้นกำรควบคุมทำงด้ำนยุทธกำรต่อกองบัญชำกำร กองทัพไทย เป็นหน่วยงำนที่มีคุณลักษณะส ำคัญ ๓ ประกำรคือ ๑. เป็นหน่วยรบขนำดเล็ก สำมำรถท ำกำรรบได้อย่ำงทหำร ๒. สำมำรถท ำกำรสืบสวนป้องกันปรำบปรำมอำชญำกรรมได้ อย่ำงต ำรวจทั่วไป ๓. เป็นหน่วยงำนที่ให้กำรช่วยเหลือประชำชนได้อย่ำงข้ำรำชกำรพลเรือนทั่วไป ภำรกิจหน้ำที่อันส ำคัญยิ่งอีกประกำรหนึ่งคือ กำรเป็นครูผู้สอนนักเรียนในโรงเรียน ต ำรวจตระเวนชำยแดน โดยนักเรียนโรงเรียนต ำรวจตระเวนทุกคนจะได้รับพระมหำกรุณำธิคุณ จำก สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรีทรงมีพระเมตตำให้ควำมส ำคัญด้ำน คุณภำพกำรศึกษำของเด็กนักเรียน ทรงเน้นเรื่องกำรอ่ำนภำษำไทยออก เขียนภำษำไทยได้อัน เป็นเป้ำหมำยหลักพื้นฐำนที่จะท ำให้นักเรียนสำมำรถด ำรงชีวิตเติบโตอยู่รอดได้ยั่งยืนในสังคม อนำคต รำยงำนวิจัยเรื่อง การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในครูผู้สอนวิชาภาษาไทย สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๒๑ เป็นกำรศึกษำถึงกำรจัดกำรควำมรู้โดยผ่ำนกระบวนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเป็นกำรสร้ำง แนวปฏิบัติที่ดีเลิศ (Best Practice) เพื่อเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำ เพิ่มทักษะแก่ครูผู้สอนวิชำ ภำษำไทยในกำรสอนนักเรียนโรงเรียนต ำรวจตระเวนชำยแดน สำมำรถน ำไปพัฒนำกำรสอนให้ นักเรียนอ่ำนภำษำไทยออก เขียนภำษำไทยได้เพื่อให้เป็นไปตำมพระรำชประสงค์ของพระองค์ ท่ำนที่ทรงเน้นมำตลอด สำมำรถใช้ผลกำรวิจัยเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนที่ดีแก่ โรงเรียนต ำรวจตระเวนชำยแดนและสำมำรถน ำไปเป็นต้นแบบที่ดีในกำรจัดกำรควำมรู้ในโรงเรียน ต ำรวจตระเวนชำยแดนต่อไป ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้บังคับบัญชำในกองบัญชำกำรต ำรวจตระเวนชำยแดน กอง บังคับกำรต ำรวจตระเวนชำยแดนภำค ๒ คณะวิทยำกรกระบวนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำก ส ำนักงำนสำธำรณสุขอ ำเภอเมืองนครรำชสีมำ ครูชุมชนนักปฏิบัติของโรงเรียนต ำรวจตระเวน ชำยแดนในสังกัดกองก ำกับกำรต ำรวจตระเวนชำยแดนที่ ๒๑ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ร่วมใน งำนวิจัยนี้ทุกท่ำนข พันต ำรวจเอก ................................................ ( อัทธชนม์ ช่วงงำม ) นักศึกษำวิทยำลัยเสนำธิกำรทหำร รุ่นที่ ๕๙ มิถุนำยน ๒๕๖๑ บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนในครูผู้สอนวิชาภาษาไทย สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๒๑ โดย : พันตำรวจเอก อัทธชนม์ ช่วงงาม สาขาวิชา: สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก...............................................ร.น. ( ณัฐพงศ์ เกิดผลหลาก ) มิถุนายน ๒๕๖๑ ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลถือเป็นส่วนหนึ่งใน ทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงานต่างๆซึ่งโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดนที่ ๒๑ พบว่ายังไม่มีแนวทางในการรวบรวมและใช้ประโยชน์จากความรู้ที่มีอยู่เหล่านั้น การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครูผู้สอนต่อการพัฒนาการ อ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนค ชายแดนที่ ๒๑ และเพื่อสร้างแนวปฏิบัติที่ดีเลิศ (Best Practice) มาใช้ในการพัฒนาการอ่านออกเขียน ได้ของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๒๑ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) ประชากรที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้เป นการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จากกลุ่มครูผู้สอนวิชาภาษาไทยในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวน ชายแดนที่ ๒๑ จำนวน ๙ โรงเรียน โรงเรียนละ ๑ คน และคัดเลือกครูต้นแบบจำนวน ๒ คน จากครู ทั้งหมด ๙ คน โดยจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management-KM) ผ่านเรื่องเล่า เร้าพลัง (Story Telling) ซึ่งผู้ศึกษาวิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participate Observation) ผลการวิจัยจากการถอดบทเรียนเรื่องเล่าเร้าพลังพบแก่นความรู้ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีเลิศ (Best Practice) ของครูต้นแบบคนที่ ๑ คือหลักการทำงานของครู การใช้เทคนิควิธีการสอนที่ หลากหลาย การใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้แรงจูงใจและให้ความสำคัญ แก่นความรู้ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีเลิศของครูต้นแบบคนที่ ๒ คือความใส่ใจ ความพยายามของครูการใช้ เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย การใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำแก่นความรู้ที่ได้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีเลิศในการพัฒนาการ อ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน นอกจากนี้ยังทำให้เกิดความรู้สึกเป็น กันเองของครูชุมชนนักปฏิบัติในการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยความเต็มใจ ทำให้ได้ความรู้ที่ เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการ โดยสามารถนำไปปฏิบัติในงานของตน ได้จริงต่อไป * หมายเหตุ การจัดการความรู้ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ แก่นความรู้ แนวปฏิบัติที่ดีเลิศง ABSTRACT Title : Knowledge Management : The Student’s Literacy Development of Thai Subject Teacher in Border Patrol Police Sub-Division21 School BY : Police Colonel Atthachon Choungngam Major Field : Social – Psychology Research Adiviser : Captain ……………………………………… RTNจ ( Nuttapong Kuardponlark ) June 2018 Individual experience is one of the most important resources of the institution. Border Patrol Police Sub-Division21 School are no guidelines for the collection and use of knowledge management-KM. Therefore, this research aimed to study knowledge management for student’s literacy development of teacher in Border Patrol Police Sub-Division21 School and to create best practice for Literacy Development of Students in Border Patrol Police Sub-Division21 School. The study is a descriptive study (Qualitative Research) by using primary data. The population in this study are individual selected (Purposive Sampling). The population used in this research are selected for specific in Thai subject teacher (Purposive Sampling) from 9 school in Border Patrol Police Sub-Division21 School and selection of 2 master Thai subject teachers of all. By Knowledge Management - KM process through Story Telling. The researchers collected data by Non-Participate Observation. Results of the study on showed that knowledge core of the first master teacher is Principles of work, use of various teaching techniques, use the media to organize learning activities, Teaching Methods, Use motivation and importance. The knowledge core of the second master teacher is teacher's efforts, use of instructional techniques, use of media in learning and teaching activities. The results of this research can be used as the best practice in the Literacy Development of Students in Border Patrol Police Sub-Division21 School. In addition, the feeling is friendly in sharing group of Communication of Practices and exchanging knowledge with willingly from informal group exchange. Can be adapted to work in the future.ฉ * Note Knowledge Management Literacy Development Knowledge Core Best Practice

abstract:

ไม่มี