Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดการพื้นที่พักอาศัย ของกองบัญชาการกองทัพไทย (กรณีพื้นที่ประชาชื่น),Guideline for Residential Area Manegement of Royal Thai Armed Force (Prachachuen Area)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. อดิสร บุญขจาย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดการพื้นที่พักอาศัยกองบัญชาการกองทัพไทย (กรณีพื้นที่ ประชาชื่น) โดย : นาวาอากาศเอก อดิสร บุญขจาย สาขาวิชา : การปฏิบัติการร่วม อาจารย์ที่ปรึกษา : นาวาอากาศเอก (สามารถ หมัดนุรักษ์) มิถุนายน ๒๕๖๑ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวคิดและระเบียบการจัดการสวัสดิการ ด้านที่พักอาศัยของส านักสวัสดิการกองบัญชาการกองทัพไทย แนวคิดและทฤษฎี การออกแบบและ จัดการพื้นที่ส าหรับการท าโครงการที่พักอาศัย เพื่อก าหนดแนวทางการจัดพื้นที่พักอาศัยกองบัญชาการ กองทัพไทย (กรณีพื้นที่ประชาชื่น) วิธีด าเนินการวิจัย ผู้วิจัยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (QUALITATIVE RESEARCH) แบบ วิจัยเอกสาร (DOCUMENTARY RESEARCH) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (IN-DEPTH INTERVIEW) โดย ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (PRIMARY DATA) ที่ได้มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารในส่วนที่เกี่ยวข้อง และผู้พักอาศัยในพื้นที่การสังเกตุการณ์รวมทั้งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (SECONDARY DATA) ที่ได้มาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า การวางรูปแบบพื้นที่พักอาศัยยังไม่สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการใน อนาคตไกลเท่าที่ควร ผังแม่บทไม่ถูกสร้างให้เกิดการปฏิบัติที่จริงจัง รวมถึงการออกแบบยังไม่ถูกก าหนด จากผู้ใช้เป็นหลัก ท าให้ไม่ตอบสนองความต้องการ การอยู่อาศัยอย่างแท้จริง แนวทางการจัดการพื้นที่ พักอาศัยของกองบัญชาการกองทัพไทย ควรจะต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนลักษณะของอาคารแบบเดิมให้ เป็นอาคารสูง เพื่อท าให้เกิดพื้นที่ว่าง เพื่อใช้ในการจัดรูปแบบของระบบสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการที่เพียงพอต่อการใช้ชีวิตของก าลังพลในยุคปัจจุบันจนถึงอนาคต โดยพื้นที่ว่างที่ได้มา จะต้องน ามาจัดวางถนนทางเท้า พื้นที่สันทนาการ พักผ่อน รวมถึงพื้นที่ออกก าลังกาย ซึ่งในพื้นที่พัก อาศัยควรใช้แนวคิดแบบชุมชน จึงควรมีพื้นที่บริการ อาทิเช่น ร้านค้า และบริการ สาธารณูปการต่างๆ เข้ามาด้วย

abstract:

ABSTRACT Title : GUIDELINE FOR RESIDENTIAL AREA MANEGEMENT OF ROYAL THAI ARMED FORCE (PRACHACHUEN AREA) BY : Group Captain Adisorn Bunkhachai Major Field : Joint operations Research Advisor : Group Captain (Samart Madnurak) June 2018 The purpose of this research was to analyze the concepts and procedures of housing management by the office of welfare the Royal Thai Armed Forces Headquarters. We also study the concepts and theories of design and space management for residential projects, in order to set guidelines for housing projects for the Royal Thai Armed Forces Headquarters (In case of Prachachuen area). The researcher uses qualitative research, documentary research, and in-depth interview as the methodology. Using primary data obtained from target group interview of experts, managers, and residents in the area. Secondary data derived from the study of relevant theories and literature reviews. The research found that the design of residential areas does not reflect the future requirement of its residents. The master plan was not created to support the needs of its users. The residential area of the Royal Thai Armed Forces should be modified from traditional low-rise building to high-rise building in order to make space for public facilities supporting the community. Available space must be allocated for recreation areas, shops, and other services.