Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนำระบบจำลองยุทธร่วมระดับยุทธบริเวณ มาใช้วิเคราะห์หนทางปฏิบัติตามกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร กรณีศึกษา การฝึกทำแผนปฏิบัติการร่วมตามหลักสูตรเสนาธิการทหาร,A Guideline to Use JTLS for COA Analysis in The Military Decision Making Process : Case Study of Joint Operation Planning Exercise in Joint Staff Course

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ศีพัฒน์ นามวัฒน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ ชื่อเรื่อง : แนวทางการนําระบบจําลองยุทธรวมระดับยุทธบริเวณ มาใชวิเคราะหหนทางปฏิบัติ ตามกระบวนการแสวงขอตกลงใจทางทหาร กรณีศึกษา การฝกทําแผนปฏิบัติการ รวมตามหลักสูตรเสนาธิการทหาร โดย : นาวาอากาศเอก ศีพัฒน นามวัฒน สาขาวิชา : การปฏิบัติการรวม อาจารยที่ปรึกษาเอกสารวิจยั : พันเอก (ชวลิต ประดิษฐนวกุล) มิถุนายน ๒๕๖๑ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหาท่ีเกิดขึ้นในการวิเคราะหหนทางปฏิบัติ ตามกระบวนการแสวงขอตกลงใจทางทหาร ในการฝกจัดทําแผนปฏิบัติการรวม ตามหลักสูตรเสนาธิ การทหาร และแนวทางการนําระบบจําลองยุทธรวมระดับยุทธบริเวณมาใชวิเคราะหหนทางปฏิบัติตาม กระบวนการแสวงขอตกลงใจทางทหาร เพื่อแกปญหา และเพิ่มประสิทธิภาพใหการวิเคราะหหนทาง ปฏิบัติตามกระบวนการแสวงขอตกลงใจทางทหาร ในการฝกจัดทําแผนปฏิบัติการรวม ตามหลักสูตร เสนาธิการทหาร วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยใชกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบ วิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) โดยใชขอมูล ปฐมภูมิ (Primary Data) ที่ไดมาจากการสัมภาษณกลุมเปาหมาย ไดแก ผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ และผู มีประสบการณที่เกี่ยวของ ทั้งระดับผูบริหารและผูปฏิบัติ รวมทั้งใชขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ที่ไดมาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ผลการวิจัยพบวาผานมาปญหาที่เกิดขึ้นโดยมากคือการใชเวลาในการหารือ เพื่อพิจารณา และคาดการณผลลัพธที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติและการโตกลับของแตละฝายเปนจํานวนมาก และไม สามารถควบคุมการดําเนินการวาดภาพการรบใหอยูในหวงเวลาที่จัดสรรไวได ทั้งนี้เปนผลมาจากวิธีการ พิจารณา ขึ้นอยูกับประสบการณของฝายเสนาธิการแตละคนที่มีความหลากหลาย ทําใหเกิดอคติ (Bias) หรือความเอนเอียงในการวิเคราะห จึงเกิดการอภิปรายอยางกวางขวาง และหาขอสรุปที่ชัดเจนไดยาก อีกทั้งยังขาดมาตรฐานในวิธีการประเมินผล ซึ่งการนําระบบจําลองยุทธรวมในยุทธบริเวณที่ กองจําลอง ยุทธ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการปองกันประเทศรับผิดชอบดูแลอยู มาใชในการวิเคราะห หนทางปฏิบัติตามกระบวนการแสวงขอตกลงใจทางทหาร ในการฝกทําแผนปฏิบัติการรวมตามหลักสูตร เสนาธิการทหาร จะสามารถชวยลดปญหาที่เกิดขึ้น และเปนการเพิ่มมาตรฐานการศึกษาหมวดวิชาที่ ๔ การปฏิบัติการรวม/ผสม ตามหลักสูตรเสนาธิการทหาร อีกทั้งยังเปนการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคา อีกดวย อยางไรก็ดี การวาดภาพการรบดวยระบบจําลองยุทธรวมระดับยุทธบริเวณ ซึ่งเปนการวาดภาพ การรบแบบการใชคอมพิวเตอรชวย ยังมีความจําเปนจะตองกระทําควบคูกันไปกับการวาดภาพการรบดวย ตนเอง เพื่อเปนการสอบทาน และเพิ่มความถูกตองในการวิเคราะห อีกทั้งยังทําใหผูรับการฝกสามารถตระหนัก รู และเขาใจในสถานการณที่จะเกิดขึ้นในการปฏิบัติการในขั้นตอนตางของแผน ทั้งนี้ความถูกตอง สมจริง ของการวาดภาพการรบแตละหนทางปฏิบัติดวยระบบจําลองยุทธรวมระดับยุทธบริเวณจะมีมากนอย เปนผลจากฐานขอมูลสถานการณ(Scenario Database) ที่นําเขาสูระบบ ดังนั้นการวางแผนการเตรียม ฐานขอมูล การทําความเขาใจวิธีการประมวลผลเพื่อการวาดภาพการรบ และการรายงานผลจึงถือเปน ประเด็นหลักที่ตองใหความสําคัญในการนําระบบจําลองยุทธรวมระดับยุทธบริเวณ มาใชในขั้นตอนการ วิเคราะหหนทางปฏิบัติตามที่มุงหวังไว ABSTRACT Title : A Guideline to Use JTLS for COA Analysis in The Military Decision￾Making Process : Case Study of Joint Operation Planning Exercise in Joint Staff Course. By : Group Captain Sipat Namwat Major Field : Joint Operations Research Advisor : Colonel (Chavalit Praditnavakul) June 2018 The objectives of this research were to study problems of COA Analysis in the Military Decision-Making Process (MDMP) in case of Joint Operation Planning Exercise in Joint Staff Course, and a guideline to use JTLS for COA Analysis in MDMP. Research methodology, researchers used a qualitative research process including documentary research and in-depth Interviews by using the primary data collected from target group interviews e.g. senior officers, experts and experiences with both executives and practitioners, including the use of secondary data that derived from the conceptual and theory studies, as well as the reviewing of the literature involved. The results found that the main problem of COA Analysis step in case of Joint Operation Planning Exercise in Joint Staff Course is time management. It takes a lot of time to define result of action, reaction and counterreaction method of friendly and threat interaction in each COA which were developed, because of each other trainee staff has difference experience and knowledge, so make bias and disagreement in their discussion. The way to use JTLS as evaluation tool for wargaming in COA Analysis step of MDMP will reduce problems and improve standard of studied the Combine and Joint Operation. However, the utilization of JTLS in wargaming is the computer-assisted method which should run simultaneously with the manual method to cross check and provide situation awareness of operation plan to trainee staff. So, the accuracy and reality computing result is depend on scenario database which was input to the system thus the database preparation, wargaming process understanding and result reporting are the first considerations to use JTLS for COA Analysis in MDMP.

abstract:

ไม่มี