เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำคำของบประมาณของกองบัญชาการกองทัพไทย,The Guidelines for Efficiency Improvement in Royal Thai Armed Forces Headquarters's Budgeting
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. รัชพล เจริญยิ่ง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง : แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท าค าของบประมาณของกองบัญชาการ
กองทัพไทย
โดย : พันเอก รัชพล เจริญยิ่ง
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารยท
์ ี่ปรึกษาเอกสารวิจยั : นาวาอากาศเอก
(สามารถ หมัดนุรักษ์)
กรกฎาคม ๒๕๖๑
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการจัดค าขอประมาณของกองบัญชาการกองทัพไทย และเพื่อพัฒนา
แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท าค าของบประมาณของกองบัญชาการกองทัพไทย มีขอบเขต
ของการวิจัย คือ ศึกษาเฉพาะกระบวนการในการจัดท าค าของบประมาณเท่านั้น และศึกษาภายใน
หน่วยงาน ซึ่งรับผิดชอบการจัดท าค าของบประมาณของส านักงานปลัดบัญชีทหาร
กองบัญชาการกองทัพไทย โดยผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากศึกษาแนวคิด ทฤษฎี
เกี่ยวกับการบริหารงาน แนวคิดเกี่ยวกับการงบประมาณและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสัมภาษณ์
เชิงลึก (in -depth interview) จากผู้ให้ข้อมูล คนส าคัญที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการจัดท าขอ
งบประมาณของส านักงานปลัดบัญชีทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง จ านวน
๖ ท่าน หลังจากนั้นน ามาจัดหมวดหมู และท าการตรวจสอบความถูกต อง วิเคราะห และ
สรุป ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
๑. ด้านระบบงบประมาณ พบว่า มีปัญหาต้องใช้ระยะเวลาในการด าเนินการนาน
นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงทุก ๆ ปี ขั้นตอนในการจัดท าค าของบประมาณมีความซับซ้อน มีสาย
การปฏิบัติงานที่ค่อนข้างจะใช้ระยะเวลานาน ขาดการวางแผน ขาดความรู้ ความเข้าใจในการ
จัดท าค าของบประมาณ และอยู่ในช่วงการพัฒนาระบบสารสนเทศ ๒. ด้านองค์กร พบว่า ปัญหาความซ ้าซ้อน ไม่ครอบคลุมต่อการปฏิบัติภารกิจ
กระบวนการหรือวิธีภายในหน่วยไม่เหมือนกัน ผู้บริหารหน่วยให้ความส าคัญในระดับที่ไม่เท่ากัน ขาด
การประสานงาน จัดท าค าของบประมาณแบบเดิม ๆ ไม่ได้จัดท าคู่มือแนวทางและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
บุคลากรในหน่วยงาน มีการหมุนเวียนสับเปลี่ยนโยกย้ายต าแหน่ง ไม่มีการพิจารณากลั่นกรอง
ความสอดคล้อง ขาดข้อมูลพื้นฐานและขาดการวางแผน
๓. ด้านเจ้าหน้าที่งบประมาณ พบว่า ไม่สามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง ความรู้ ความ
เข้าใจและความสามารถไม่เท่าเทียมกัน มีจ านวนไม่เพียงพอกับปริมาณงานที่มีจ านวนมาก และ
อุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีที่มีไม่เพียงพอ
ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ส านักงานปลัดบัญชีทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย
ในระยะเร่งด่วน ควรมีการสัมมนา ประชุม อบรม บุคลากรภายในหน่วยงานและต่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและสม ่าเสมอ ส าหรับระยะต่อไปควรมีการบูรณาการร่วมกันกับ
หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการจัดท าคู่มือการจัดท าค าของบประมาณ และการจัดท า
มาตรฐานการจัดท าค าของบประมาณ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับ
การจัดท าค าของบประมาณ และระยะยาว ควรมีการทบทวนภารกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ในระยะ
ยาวของหน่วยงานให้สอดคล้องกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี นโยบายของรัฐบาล และ
แผนแม่บทอื่น ผู้บังคับบัญชาระดับสูงควรให้ความส าคัญในการจัดท าค าของบประมาณอย่างเสมอ
ภาค เท่าเทียม โปร่งใส ตรวจสอบได้ รวมทั้งมีนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในกระบวนการ
จัดท าค าของบประมาณ
abstract:
Abstract
Title : The Guidelines for Efficiency Improvement in Royal Thai Armed Forces
Headquarters’ Budgeting
By : Colonel Ratchaphol Charoenying
MajorField : Military
Research Advisor : Group Captain
(Samart Madnurak)
JULY 2018
The objectives of this qualitative research are to study problems and
obstacles in the Royal Thai Armed Forces Headquarters’ budgeting, and to develop
guidelines for efficiency improvement in the Royal Thai Armed Forces Headquarters’
budgeting. This research focuses on the budgeting process in Office of the Comptroller
General, the responsible office for budgeting in the Royal Thai Armed Forces
Headquarters. Secondary information on management and budgeting is obtained
through the review of both theoretical literature and experimental literature. Moreover,
in-depth interview with budgeting personnel is conducted with the sample size of six
persons. The data is classified, verified, analyzed and summarized. The results are as
follows:
1. Budgeting System: The process is complicated and takes a long time.
Policies change yearly.Moreover, there is a lack of plan, knowledge, and understanding
in budgeting. Lastly, information system is still under development.2. Organization: The responsibilities overlap in some aspects, but fail to
cover other aspects. The procedures and methods are different. Furthermore, directors
place importance unequally. The organization works without coordination, under the
same old procedures without clear guidelines and rules. Moreover, the personnel
involved is frequently reshuffled, without proper thoughts on work correlation, basic
information and planning.
3. Budgeting Personnel: The personnel involved is unable to continuously
improve their skills. The gap in knowledge, understanding, and skills is present. The
involving officers, as well as the supporting technological equipment, are insufficient
for the workload.
To solve the aforementioned problems, in the short term, the Office of the
Comptroller General should continuously and regularly organize seminars, conferences,
and training programs for its personnel, as well as personnel from other organizations
involving in its budgeting. In the medium term, the Office of the Comptroller General
should work together with these organizations to develop a budgeting manual,
budgeting standards, adequate information system, and appropriate equipment. In the
long term, it should revise its missions, policies, and long-term strategies to be in
accordance with the 20-year national strategy, government policies, and other master
plans. The commanders should prioritize the equality, equity, transparency, and
traceability in budgeting. Finally, policies regarding human resource development
should be present.