เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการสหกรณ์ประมงสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษา สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งนครปฐม จำกัด จังหวัดนครปฐม,Guideline for Management of Fishert Cooperatives in Sustainable Development : Case Study of Nakhon Pathom Shrimp Farmers Cooperative Limited, Nakhon Pathom Province
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ภาณุพงศ์ แสงคำ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
20บทคัดยอ
16ชื่อเรื่อง : 19แนวทางการบริหารจัดการสหกรณประมงสูการพัฒนาอยางยั่งยืน:
กรณีศึกษา สหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด จังหวัดนครปฐม
16โดย 16: นายภาณุพงศ แสงคํา
16สาขาวิชา : 17การเศรษฐกิจ
16อาจารยที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
21 (ปยะ จารุอารยนันท)
............/กรกฎาคม/๒๕๖๑
19การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา
และอุปสรรคการบริหารจัดการของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด และเพื่อเสนอแนวทางการบริหาร
จัดการอยางยั่งยืนของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด โดยผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลจากศึกษาแนวคิด
ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การพัฒนาอยางยั่งยืน และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ
งานวิจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งการสัมภาษณเชิงลึก ( in - depth interview) และการสนทนากลุม (Focus
Group) ดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ ผูแทนสหกรณ และผูที่เกี่ยวของกับ
การสงเสริมและพัฒนาสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด จํานวน ๑๕ คน หลังจากนั้นนํามาจัดหมวดหมู
และทําการตรวจสอบความถูกตอง วิเคราะหและสรุป ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้
19๑. ปญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด คือ ปญหา
ดานการวางแผน พบวา ขาดการจัดทําแผนกลยุทธ และแผนธุรกิจรายธุรกิจ ปญหาการจัดองคกร พบวา
การสรรหากรรมการที่มีความชํานาญธุรกิจและระบบสหกรณมีคิอนขางจํากัด การมอบหมายงาน
กรรมการและฝายจัดการไมชัดเจน และไมมีการมอบหมายการดูแลสมาชิก ปญหาดานการนําองคกร
พบวา คณะกรรมการดําเนินการและฝายจัดการยังขาดความรูความสามารถและวิสัยทัศนในการพัฒนา
สหกรณ ปญหาดานการควบคุม พบวา การควบคุมทั้งภายในและภายนอกไมเปนระบบ ขาดการควบคุม
และวางแผนผลผลิตสมาชิกใหเปนระบบ ปญหาดานการมีสวนรวม พบวา สมาชิกมีสวนรวมกับสหกรณ
นอยในทุกดาน ไมคอยสนใจ ทํากิจกรรมกับสหกรณ19๒. แนวทางการบริหารจัดการอยางยั่งยืนของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด คือ
19ดานการวางแผน พบวา ควรมีการจัดทําแผนกลยุทธและแผนธุรกิจรายธุรกิจ เชน แผนธุรกิจการจัดหา
สินคามาจําหนาย แผนธุรกิจการผลิตและรวบรวมผลผลิต แผนธุรกิจการแปรรูปและการตลาด เปนตน
ดานการจัดองคกร พบวา ควรจัดหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถมาบริหารงานสหกรณ ทําให
สมาชิกรวมมือสามัคคีกัน จัดใหองคกรมีการพัฒนาทักษะความรูใหผูปฏิบัติงาน คํานึงถึงผลประโยชน
ของสมาชิกใหไดรับตามวัตถุประสงคการสรางทายาท ดานการนําองคกร พบวา ควรพัฒนาบุคลากร
ฝายจัดการใหมีความรูความสามารถ พัฒนาสหกรณ มีใจรักสหกรณ สามารถนําองคกรใหประสบ
ผลสําเร็จ และแนะนําสมาชิกในดานการจัดการฟารมที่มั่นคง มีความรูทันตอเหตุการณ คณะกรรมการ
ดําเนินการควนทําความเขาใจกับนิยามของสหกรณและเขาใจบริบทของสหกรณ การดําเนินธุรกิจจะได
ยั่งยืน ดานการควบคุม พบวา ควรมีการวางระบบควบคุมภายในและจัดวางรูปแบบการทํางานใหเปน
ระบบ วางแผนการผลิตใหแกสมาชิกอยางถูกตอง เพื่อจะไดควบคุมผลผลิตของสมาชิกใหตรงกับตลาด
ใหความรูกับสมาชิกเพื่อเพิ่มผลผลิตใหไดมากขึ้น ดานการมีสวนรวม พบวา ควรสงเสริมใหสมาชิกมีสวน
รวมทุกกิจกรรมที่สหกรณจัด และหนวยงานราชการที่ใหการสนับสนุนสหกรณ ใหดําเนินธุรกิจครบถวน
ตามความตองการของสมาชิก
19 สําหรับขอเสนอแนะในการ 19บริหารจัดการสหกรณประมงสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ในระดับ
นโยบาย ควรสงเสริมใหสหกรณมีการจัดทําแผนกลยุทธและแผนธุรกิจในระยะปานกลางและระยะยาว
โดยใหสอดคลองกับความตองการของสมาชิก ระบบนิเวศ และแผนแมบทของหนวยงานตาง ๆ ควร
สงเสริมและสนับสนุนใหสหกรณจัดหาทุน วิชาการความรูเทคโนโลยีมา1 9ชวยในการลงทุนและพัฒนา
คุณภาพชีวิต
abstract:
ABSTRACT
Title : Guideline for Management of Fishery Cooperatives in Sustainable
Development: Case Study of Nakhon Pathom Shrimp Farmers
Cooperative Limited, Nakhon Pathom Province
By 16: Mr. Phanupong Saengkam
Major Field : Economics
Research Advisor : Group Captain
21 (Piya Jaruarayanun)
July 2018
The objectives of this qualitative research is to study problems and obstacles
in guideline for management of Nakhon Pathom Shrimp Farmers Cooperative Limited,
and to provide recommendations and guidelines for sustainable management. To
obtain important knowledge and information on this subject including management
theories, cooperative theories, participation theories, sustainable development
theories, and sufficiency economy philosophy, theoretical literature and empirical
studies are reviewed. Moreover, in-depth interview and group discussion with focus
group are conducted. Fifteen cooperative representatives and persons involving in
cooperative promotion and development are selected through purposive sampling.
The gathered data is classified, verified, analysed, and concluded. The results are as
follows:
1. Problems and obstacles in the cooperative management: The first problems
are planning issues. The study shows that the cooperative lacks strategic plan and
business plan. The organization management also presents some problems. The
selection of cooperative board members who have expertise in business and
cooperative system is unclear. Work assignment in the board and management team is
also unclear, and no person is clearly assigned to take care of members. Moreover,
there are problems in leading cooperatives. The cooperative board and management team still lacks knowledge, skills and visions in cooperative development. The issues in
controlling the cooperative are present for both internal control and external control.
There is no clear system and plan, for example, for member output. Finally, the
participation issue is present because cooperative members hardly participate and
show any interests in cooperative activities.
2. Recommendations and guidelines for sustainable management: Firstly, in
planning aspect, the cooperative should develop strategic plan and business plans for
each type of its business, for example, business plan for supplying input, business plan
for output production and collection, and business plan for processing and marketing.
Secondly, in organization management aspect, the cooperative should find capable
personnel with satisfactory level of knowledge and skills to manage cooperative
businesses and activities, train and improve cooperative officers’ knowledge and skills,
prioritize member’s benefits in accordance with the objectives and in building
successors. Fourthly, organization leading aspect, the cooperative should improve the
knowledge and skills of management team so that they are able to develop the
cooperative with passion, lead the cooperative to success, provide guidance and
recommendations to members regarding farm management, and stay up-to-date for
related news and situations. For sustainable business, cooperative board of directors
should also fully understand cooperative definition and context. Next, the controlling
aspect, the cooperative should build good internal control system and work system,
adequately plan for member’s output production to better match the supply with
market demand, as well as train members on production improvement. Lastly,
participation aspect, the cooperative should promote member participation in every
cooperative activity, as well as related government activities, to respond to all
member’s business needs.