Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการสหกรณ์ประมงสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษา สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งนครปฐม จำกัด จังหวัดนครปฐม,Guideline for Management of Fishert Cooperatives in Sustainable Development : Case Study of Nakhon Pathom Shrimp Farmers Cooperative Limited, Nakhon Pathom Province

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ภาณุพงศ์ แสงคำ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

20บทคัดยอ 16ชื่อเรื่อง : 19แนวทางการบริหารจัดการสหกรณประมงสูการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษา สหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด จังหวัดนครปฐม 16โดย 16: นายภาณุพงศ แสงคํา 16สาขาวิชา : 17การเศรษฐกิจ 16อาจารยที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก 21 (ปยะ จารุอารยนันท) ............/กรกฎาคม/๒๕๖๑ 19การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา และอุปสรรคการบริหารจัดการของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด และเพื่อเสนอแนวทางการบริหาร จัดการอยางยั่งยืนของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด โดยผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลจากศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การพัฒนาอยางยั่งยืน และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ งานวิจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งการสัมภาษณเชิงลึก ( in - depth interview) และการสนทนากลุม (Focus Group) ดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ ผูแทนสหกรณ และผูที่เกี่ยวของกับ การสงเสริมและพัฒนาสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด จํานวน ๑๕ คน หลังจากนั้นนํามาจัดหมวดหมู และทําการตรวจสอบความถูกตอง วิเคราะหและสรุป ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 19๑. ปญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด คือ ปญหา ดานการวางแผน พบวา ขาดการจัดทําแผนกลยุทธ และแผนธุรกิจรายธุรกิจ ปญหาการจัดองคกร พบวา การสรรหากรรมการที่มีความชํานาญธุรกิจและระบบสหกรณมีคิอนขางจํากัด การมอบหมายงาน กรรมการและฝายจัดการไมชัดเจน และไมมีการมอบหมายการดูแลสมาชิก ปญหาดานการนําองคกร พบวา คณะกรรมการดําเนินการและฝายจัดการยังขาดความรูความสามารถและวิสัยทัศนในการพัฒนา สหกรณ ปญหาดานการควบคุม พบวา การควบคุมทั้งภายในและภายนอกไมเปนระบบ ขาดการควบคุม และวางแผนผลผลิตสมาชิกใหเปนระบบ ปญหาดานการมีสวนรวม พบวา สมาชิกมีสวนรวมกับสหกรณ นอยในทุกดาน ไมคอยสนใจ ทํากิจกรรมกับสหกรณ19๒. แนวทางการบริหารจัดการอยางยั่งยืนของสหกรณผูเลี้ยงกุงนครปฐม จํากัด คือ 19ดานการวางแผน พบวา ควรมีการจัดทําแผนกลยุทธและแผนธุรกิจรายธุรกิจ เชน แผนธุรกิจการจัดหา สินคามาจําหนาย แผนธุรกิจการผลิตและรวบรวมผลผลิต แผนธุรกิจการแปรรูปและการตลาด เปนตน ดานการจัดองคกร พบวา ควรจัดหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถมาบริหารงานสหกรณ ทําให สมาชิกรวมมือสามัคคีกัน จัดใหองคกรมีการพัฒนาทักษะความรูใหผูปฏิบัติงาน คํานึงถึงผลประโยชน ของสมาชิกใหไดรับตามวัตถุประสงคการสรางทายาท ดานการนําองคกร พบวา ควรพัฒนาบุคลากร ฝายจัดการใหมีความรูความสามารถ พัฒนาสหกรณ มีใจรักสหกรณ สามารถนําองคกรใหประสบ ผลสําเร็จ และแนะนําสมาชิกในดานการจัดการฟารมที่มั่นคง มีความรูทันตอเหตุการณ คณะกรรมการ ดําเนินการควนทําความเขาใจกับนิยามของสหกรณและเขาใจบริบทของสหกรณ การดําเนินธุรกิจจะได ยั่งยืน ดานการควบคุม พบวา ควรมีการวางระบบควบคุมภายในและจัดวางรูปแบบการทํางานใหเปน ระบบ วางแผนการผลิตใหแกสมาชิกอยางถูกตอง เพื่อจะไดควบคุมผลผลิตของสมาชิกใหตรงกับตลาด ใหความรูกับสมาชิกเพื่อเพิ่มผลผลิตใหไดมากขึ้น ดานการมีสวนรวม พบวา ควรสงเสริมใหสมาชิกมีสวน รวมทุกกิจกรรมที่สหกรณจัด และหนวยงานราชการที่ใหการสนับสนุนสหกรณ ใหดําเนินธุรกิจครบถวน ตามความตองการของสมาชิก 19 สําหรับขอเสนอแนะในการ 19บริหารจัดการสหกรณประมงสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ในระดับ นโยบาย ควรสงเสริมใหสหกรณมีการจัดทําแผนกลยุทธและแผนธุรกิจในระยะปานกลางและระยะยาว โดยใหสอดคลองกับความตองการของสมาชิก ระบบนิเวศ และแผนแมบทของหนวยงานตาง ๆ ควร สงเสริมและสนับสนุนใหสหกรณจัดหาทุน วิชาการความรูเทคโนโลยีมา1 9ชวยในการลงทุนและพัฒนา คุณภาพชีวิต

abstract:

ABSTRACT Title : Guideline for Management of Fishery Cooperatives in Sustainable Development: Case Study of Nakhon Pathom Shrimp Farmers Cooperative Limited, Nakhon Pathom Province By 16: Mr. Phanupong Saengkam Major Field : Economics Research Advisor : Group Captain 21 (Piya Jaruarayanun) July 2018 The objectives of this qualitative research is to study problems and obstacles in guideline for management of Nakhon Pathom Shrimp Farmers Cooperative Limited, and to provide recommendations and guidelines for sustainable management. To obtain important knowledge and information on this subject including management theories, cooperative theories, participation theories, sustainable development theories, and sufficiency economy philosophy, theoretical literature and empirical studies are reviewed. Moreover, in-depth interview and group discussion with focus group are conducted. Fifteen cooperative representatives and persons involving in cooperative promotion and development are selected through purposive sampling. The gathered data is classified, verified, analysed, and concluded. The results are as follows: 1. Problems and obstacles in the cooperative management: The first problems are planning issues. The study shows that the cooperative lacks strategic plan and business plan. The organization management also presents some problems. The selection of cooperative board members who have expertise in business and cooperative system is unclear. Work assignment in the board and management team is also unclear, and no person is clearly assigned to take care of members. Moreover, there are problems in leading cooperatives. The cooperative board and management team still lacks knowledge, skills and visions in cooperative development. The issues in controlling the cooperative are present for both internal control and external control. There is no clear system and plan, for example, for member output. Finally, the participation issue is present because cooperative members hardly participate and show any interests in cooperative activities. 2. Recommendations and guidelines for sustainable management: Firstly, in planning aspect, the cooperative should develop strategic plan and business plans for each type of its business, for example, business plan for supplying input, business plan for output production and collection, and business plan for processing and marketing. Secondly, in organization management aspect, the cooperative should find capable personnel with satisfactory level of knowledge and skills to manage cooperative businesses and activities, train and improve cooperative officers’ knowledge and skills, prioritize member’s benefits in accordance with the objectives and in building successors. Fourthly, organization leading aspect, the cooperative should improve the knowledge and skills of management team so that they are able to develop the cooperative with passion, lead the cooperative to success, provide guidance and recommendations to members regarding farm management, and stay up-to-date for related news and situations. For sustainable business, cooperative board of directors should also fully understand cooperative definition and context. Next, the controlling aspect, the cooperative should build good internal control system and work system, adequately plan for member’s output production to better match the supply with market demand, as well as train members on production improvement. Lastly, participation aspect, the cooperative should promote member participation in every cooperative activity, as well as related government activities, to respond to all member’s business needs.