บทคัดย่อ
ชื่อเรื่องวิจยั : แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรการบิน
: ศูนย์การบินทหารบก
ชื่อนักศึกษาผ้วูิจยั : พ.อ.พีระศักดิ์ อุตสานนท์
อาจารยผ
์ ้รูบั ผิดชอบ : พ.อ.จิรานุวัฒน์ ศักดิ์เสือ
ปัจจุบันการพัฒนาทางด้านการบินของโลกมีการเจริญเติบขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะ
เป็นด้านเทคโนโลยี ด้านการบริหารการบิน ตลอดจนด้านบุคลากร ดังนั้นการบินทหารบกจึง
จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ทัดเทียม และมีความเป็นสากล เพราะปัจจุบันลักษณะ
ของภัยคุกคามต่อประเทศมีการปรับเปลี่ยนไป การบริหารทรัพยากรการบินก็เป็นส่วนหนึ่งที่
จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงให้มีความทันสมัย รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหาร
ทรัพยากรการบินของศูนย์การบินทหารบก ด้วยการสัมภาษณ์เกี่ยวกับความคิดเห็นของก าลังพล
ในศูนย์การบินทหารบกและนอกศูนย์การบินทหารบกที่มีต่อการบริหารทรัพยากรการบินแบบแยก
และแบบรวมการ แบ่งออกเป็น ๔ ด้าน คือ ด้านก าลังพล ด้านยุทโธปกรณ์ ด้านงบประมาณ และ
ด้านการบริหารจัดการ ผลการศึกษาพบว่า ก าลังพลของศูนย์การบินทหารบก ส่วนใหญ่สนับสนุน
การบริหารทรัพยากรการบินแบบรวมการมากกว่า
เนื่องจากก าลังพลบางส่วนยังไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างของหน่วย
บินและการปรับย้าย อีกทั้งก าลังพลบางส่วนไม่มีความมั่นใจว่าการจัดหายุทโธปกรณ์ต่างๆ จะตรง
ตามความต้องการ ด้านการบริหารนั้นก าลังพลระดับล่างจะมองภาพการบริหารไม่ออก ดังนั้น
ผู้บังคับบัญชาหรือฝ่ายอ านวยการต้องมีการประชาสัมพันธ์หรือชี้แจงก าลังพลให้ทราบทั่วกันข
ABSTRACT
Research Title : Study and Comparison between the Separation Aviation
Resource Management and the Integration Aviation Resource
Management
Name : Colonel Peerasak Outsanon
Research Adviser : Colonel Jiranuwat Sakseau
Nowadays there is very high growth rate of the revolution of global aviation
in term of high technology, aviation management and the man management. For these
reasons the Royal Thai Army Aviation must be improved up to date with the
international standard because of the changing nature of the national threat thus it is
necessary to improve the Aviation Resource Management.
The aims of this research are to study the factors which affect Aviation
Resource Management and to compare the difference between the Separation Aviation
Resource Management and the Integration Aviation Resource Management.
The analytic principal of this research studied about the attitude support
scale of Army aviation personnel to the Separation Aviation Resource Management and
The Integration Aviation Resource Management. The Aviation Resource Managements
are divided to 4 points, which are personnel, equipment, budget and management by
the use of basic Statistics (Arithmetic Mean, Standard Deviation).
The obtained results show the attitude support level of Army Aviation
personnel to the Integration Aviation Resource Management overcame the Separation
Aviation Resource Management at all points. The research results show that some of
the Army Aviation personnel misunderstand the reorganization of the units and change
in position. Moreover, some of personnel are unsure about the procurement of
equipment that may not meet the requirement in the short term. In addition to the ค
management, non-commissioned officers of the Army Aviation personnel can not
understand management at the higher level which leads to the lack of standards
relation to the research topics. Therefore, the recommendation is that the commander
or staffs have to inform or explain for all personnel about the reorganization of the
unit and changes in position
คำนำ
การพัฒนาหน่วยบินกองทัพบก มุ่งเน้นเพื่อเตรียมพร้อมจัดตั้งเหล่าทหารการบิน
ด้วยการปรับปรุงโครงสร้างอัตราการจัดของ หน่วยบินกองทัพบก ต้องมีความเหมาะสม ในการ
สนับสนุน ภารกิจป้องกันประเทศ และ การปฏิบัติการทางทหารที่มิใช่สงคราม โดยพิจารณา
อัตราการจัดเฉพาะกิจ 4700 ศูนย์การบินทหารบก ให้มีหน้าที่ในความรับผิดชอบ ใน 2 บทบาท
ได้แก่ บทบาทหัวหน้าเหล่าสายวิทยาการการบิน และบทบาทเป็นหน่วยสนับสนุนการรบ การปรับ
โครงสร้าง กองบินสนับสนุนทั่วไป ศูนย์การบินทหารบก จากหน่วยใช้อัตราการจัดเฉพาะกิจ เป็น
อัตราการจัดอาวุธยุทโธปกรณ์ เพื่อให้หน่วยมีความสมบูรณ์ในด้านอัตราและยุทโธปกรณ์ แปร
สภาพ กองพันบิน ให้เป็น กรมบิน เพื่อให้มีขีดความสามารถปกครองบังคับบัญชาหน่วยบินใน
อัตรา จึงจ าเป็นต้องมีการน าเอาการบริหารทรัพยากรการบินแบบรวมการ มาใช้เพื่อให้การ
บริหารงานด้านการบินเป็นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ และปลอดภัย
ผู้วิจัยซึ่งเป็นข้าราชการสังกัดศูนย์การบินทหารบก เล็งเห็นความส าคัญของการ
บริหารทรัพยากรการบินแบบรวมการ จึงท าการวิเคราะห์ปัจจัยต่างที่ส่งผลกระทบต่อการบริหาร
ไม่ว่าจะเป็นด้านก าลังพล ด้านยุทโธปกรณ์ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ
ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการ
น าผลการวิจัยไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาหน่วยบินของกองทัพบกให้มีความก้าวหน้า
ยิ่งขึ้นไป
พันเอก
( พีระศักดิ์ อุตสานนท์ )
นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๕๙
มีนาคม 2561ง
กิตติกรรมประกาศ
เอก สารวิจัย ฉ บับ นี้ ได้ส าเร็จ ลุ ล่ วงไป ได้ด้วย ค วาม กรุณ าอย่างสูงจ าก
พ.อ.จิรานุวัฒน์ ศักดิ์เสือ อาจารย์ผู้รับผิดชอบเอกสารการวิจัย และคณะอาจารย์วิทยาลัยเสธนาธิ
การทหารทุกท่าน ที่ได้ให้ค าแนะน า ดูแล และช่วยเหลือ รวมทั้งเพื่อนนักศึกษาในวิทยาลัยเสธนาธิ
การทหาร รุ่นที่ 5๙ ที่ให้ค าปรึกษา ช่วยเหลือ อย่างดียิ่ง ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ
โอกาสนี้
นอกจากนี้ผู้วิจัยขอขอบพระคุณพลตรี วีรยุทธ อินทร์วร ผู้บัญชาการศูนย์การบิน
ทหารบก และผู้บังคับบัญชาทุกท่านที่ได้ให้ ค าสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรการบิน
การปรับโครงสร้างของหน่วยบินในกองทัพบก และค าปรึกษา ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการท า
เอกสารวิจัยในครั้งนี้
ประโยชน์และคุณค่าจากเอกสารวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณ
บุพการี ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนครูและอาจารย์ทุกท่าน