Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาหลักนิยมการปฏิบัติการพิเศษร่วมของกองทัพไทย ,Guideline for development RTARF Joint Special Operations Doctrine

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. บูรณะ จิวะนันทประวัติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางในการพัฒนาหลักนิยมกองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษร่วม โดย : พันเอก บูรณะ จิวะนันทประวัติ สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ทักษิณ สิริสิงห) กรกฎาคม ๒๕๖๑ หลักนิยมกองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๕.๒ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นี้ เป็นฉบับที่ได้รับการริเริ่มจัดท าขึ้นเพื่อตอบสนองต่อหลักการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทย ซึ่งได้มี การจัดท าหลักนิยมการปฏิบัติการร่วม ฉบับปี พ.ศ.๒๕๕๐ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการร่วม ระหว่างเหล่าทัพ หลักนิยมกองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งมี วัตถุประสงค์ต้องการสร้างความเข้าใจในการประสานสอดคล้องของหน่วยปฏิบัติการพิเศษทุกเหล่าทัพ และ ตร. แต่หลักการและข้อความส่วนมาก ยังคงมีภาพของหลักนิยมที่ได้รับการแปลมาจากหลักนิยม ของกองทัพสหรัฐอเมริกา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะศึกษาทบทวนและวิเคราะห์หลักนิยม กองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๒ เพื่อพัฒนาหลักนิยมกองทัพไทยด้านการ ปฏิบัติการพิเศษร่วม ให้มีความเหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยในภาวะปัจจุบัน ต่อไป จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดระบบการจัดการปฏิบัติการพิเศษร่วม ๓ เหล่าทัพ เพื่อปรับปรุงแนวทางการพัฒนาการปฏิบัติการรบของแต่ละเหล่าทัพและการอ านวยการยุทธ ร่วมโดย ศบท.บก.ทท. ท าให้การประสานงานมีความแนบแน่น เกิดการประสานสอดคล้องใน การปฏิบัติงานร่วมกันและลดปัญหา อุปสรรคต่างๆ อันอาจเกิดขึ้นได้ เอกสารวิจัยฉบับนี้เป็น การวิจัยเซิงคุณภาพแบบการวิจัยเซิงเอกสารและการสัมภาษณ์เซิงลึก ซึ่งจะใช้ข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิมาวิจัยในรูปแบบการวิเคราะห์เซิงพรรณนา โดยจะศึกษาแนวคิดความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ ของหน่วยปฏิบัติการพิเศษร่วมกองทัพไทยในแผนป้องกันประเทศปัจจุบัน และ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้บังคับหน่วย ฝ่ายเสนาธิการ ที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์จาก เหล่าทัพ น ามาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนว ทางการพัฒนาหลักนิยมกองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการ พิเศษร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๕.๒ ด้านโครงสร้างการจัดและภารกิจของหน ่วยปฏิบัติการพิเศษจาก ๓ เหล่าทัพ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพิเศษร่วม กองทัพไทย ซึ่งผลจากการวิจัย พบว่า หน่วย ปฏิบัติการพิเศษ ๓ เหล่าทัพ มีการยึดถือตามหลักนิยม กองทัพไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษ ร่วม พ.ศ.๒๕๕๒ และระเบียบปฏิบัติประจ าของ ศบท.บก.ทท. ว่าด้วยการปฏิบัติการพิเศษร่วม กองทัพไทย มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาการ ปฏิบัติการพิเศษร่วมของกองทัพไทย ให้มืความประสานสอดคล้องกันในเรื่องภารกิจ ขีดความสามารถ ของแต่ละเหล่าทัพ แต่สมควรมี การปรับปรุงภารกิจบางอย่างเช่นเพิ่มการต่อสู้การก่อการร้าย (ตสร.)ในยามปกติและการ ปปส. ในเมือง เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในสถานการณ์เฉพาะ(การก่อม็อบหรือก่อเหตุรุนแรงในเมือง) และเห็น ร่วมกันที่จะให้มีการหารือร่วม ๓ เหล่าทัพ และ ตร. เพื่อเสนอแนวทางปรับปรุงพัฒนาหลักนิยมกองทัพ ไทยส าหรับการปฏิบัติการพิเศษร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๕.๒ ภายใต้การอ านวยการจาก ยก.ทหารต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title : Guideline to development of Royal Thai Armed Force Special Operation doctrine By : Colonel Burana Jiwanantaprawat Major Field : Military Research Advisors : Colonel (Taksin Sirisingha ) July 2018 The purpose of this research try to review and qualitative analysis of this doctrine about task, mission,command -control system and force structure of RTARF special operation forces and their delegation on RTARF war campaign. This research is conducted qualitatively by studying the Concept Paper RTARF Special Operation Doctrine 2009 ( draft item ) to review and search the way to improve and develop the content of doctrine The methodology of research is qualitative research including documentary research and indept interview by coomander commanding staff, expert of special operation unit Result of research guide to make deliberation review content of doctrine even though it’smostly effective evidence ,but the doctrine could be more suitable and synchronize for thai approach than US SOF structure and it should be most effectively response to RTARF HQ SOP and plan Finally it recommend that course n of actions shouldhave been several levels first policy level directorate of operations(J3 )RTARF conduct the RTA,RTN,RTAF and Royal thai police(OPCON) to brainstorming how to develop the doctrine second organic unit level( all branch ) suggest the opinion to review and improve the doctrine the last level research& study level induce another defence studies learner to get more notion of RTARF Special Operation doctrine