เรื่อง: กระบวนการคัดเลือกเครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ ในศตวรรษที่ 21 ,Pracess of Procurement for Multirole Fight Jet in 21 Century
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. เนาวมรัตน์ ประพัฒน์ทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดโครงสร้างและอัตราของหน่วยในสายงานปลัดบัญชี
กองทัพบก
Structural and Staffing Reorganization of Royal Thai Army
Comptroller’s Agencies
โดย : พันเอก ฉัตรชัย เมืองศรีนุ่น
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( เอกภพ ภาณุมาศตระกูล )
มิถุนายน ๒๕๖๑
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาของโครงสร้างการจัดและอัตราของหน่วย
ในสายงานปลัดบัญชีกองทัพบกในปัจจุบัน เพื่อเสนอแนะรูปแบบของโครงสร้างการจัดและอัตราของ
หน่วยในสายงานปลัดบัญชีกองทัพบกที่เหมาะสมสําหรับสถานการณ์ปัจจุบันและที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
วิธีดําเนินการวิจัย ผู้วิจัยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบ
วิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ที่ได้มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มี
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ที่ได้จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี
และการทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างการจัดและหน้าที่ของหน่วยในสายปลัดบัญชี ไม่สอดคล้องและ
สัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบที่ปฏิบัติงานในปัจจุบัน จึงสมควรจัดตั้งหน่วยงานเพิ่มเติมในระดับแผนก
เพื่อรองรับงานที่ได้รับมอบ ปรับเปลี่ยนชื่อแผนก และปรับปรุงหน้าที่ความรับผิดชอบให้สอดคล้องกับ
ระเบียบ คําสั่ง และอนุมัติหลักการที่เกี่ยวข้อง
abstract:
ABSTRACT
Title : Structural and Staffing Reorganization of Royal Thai Army
Comptroller’s Agencies
By : Colonel Chatchai Muangsrinoon
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
( Ekkapob Panumastrakul )
June 2018
The objective of this research is to study the current problems regarding the
structural and staffing reorganization of Royal Thai Army Comptroller’s agencies. It also
aims to suggest models that are suitable for the current and future situations.
This research is a qualitative research, using Documentary Research and Indepth Interview as research methods. Primary data were collected from target samples
who are Army Experts and experience staffs in this field. Secondary data were obtained
from conceptual studies, theories and literatures review.
This research discovered that the structural and staffing reorganization of Royal
Thai Army Comptroller’s agencies were not consistent or relevant with the current job
responsibilities. Therefore, this research recommends that additional units at the
department level are established to accommodate the assignments given, rename existing
departments, and revise the responsibilities given in accordance with the relevant
regulations, orders and principles.