Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: รูปแบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ที่มีผลต่อภัยความมั่นคงของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายแพทย์ ดร. พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง รูปแบบการจดัการภาวะฉุกเฉินทางดา ้ นสาธารณสุขที่มีผลต่อภยัความ มนั่ คงของชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั ดร.นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่26 ช่วงระยะเวลากว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา พบว่ามีเหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ เกิดข้ึนใน เกือบทุกพ้ืนที่ของโลกและประเทศไทยจ านวนมาก เช่น แผ่นดินไหว ตึกถล่ม เครื่องบินตก เรือล่ม คลื่นยกัษส์ึนามิน้า ท่วม ไฟไหม้อุบัติภัยจากการเดินทางขนส่งและการชุมนุมประท้วงทางการเมือง รวมถึงการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง โดยเหตุการณ์ภัยพิบัติ ภาวะวิกฤติและภาวะฉุกเฉินเหล่าน้ี ล้วนส่งผลให้เกิดภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข (Public Health Emergency) ท้งัสิ้น เนื่องจากเป็ น เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดโรคและภัยคุกคามต่อสุขภาพ ท าให้เกิดการป่ วย และเสียชีวิตได้อย่างฉับพลัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเพื่อพัฒนา รูปแบบการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขที่มีผลต่อภยัความมนั่ คงของชาติข้ึนโดย มีรูปแบบการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาได้น าไปสู่การพัฒนารูปแบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยรูปแบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข 6 ต. ซึ่งแบ่งเป็ น 3 ระยะ ในการจัดการ ได้แก่ ระยะเตรียมความพร้อม(ต 1 : เตรียมให้พร้อม)ระยะเผชิญวิกฤต(ต 2 : ตรวจให้ พบ, ต 3 : เตือนให้ส าเร็จ, ต 4: ตีให้เร็ว) และระยะฟ้ืนฟ(ูต 5 : ตามให้หมด, ต 6 : ตกผลึกการเรียนรู้) ภายใต้การก าหนดโครงสร้างการด าเนินงานตามระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command Systems: ICS) และพบว่าในการจัดการระยะบรรเทาภัย (Mitigation) และระยะเตรียมความพร้อม (Preparedness) น้ีถือเป็ นระยะที่เป็ นการป้ องกันการเกิดเหตุ/ป้ องกันความสูญเสียอันจะเกิดจากภาวะ ฉุกเฉิน ท้งัน้ียงัพบว่า การบริหารจัดการของหน่วยงานยังขาดความยืดหยุ่น ดงัน้นั ในระดับนโยบาย ควรมีการแก้ไขกฎหมายและระเบียบการเงินการคลัง ที่สนับสนุนให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัว ยงิ่ ข้ึน ควรมีการจัดเตรียมแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีการซักซ้อมแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน และพบว่า การด าเนินการในระยะตอบโต้ภาวะฉุกเฉินยังขาดประสิทธิภาพ จึงควรจัดให้มีทีมปฏิบัติงานที่มี ความสามารถเหมาะสมกับงาน การด าเนินการควรมีการประสานงานกันเป็ นเครือข่ายการมีส่วน ร่วมจากทุกภาคส่วน ควรเสริมสร้างให้ทอ้งถิ่นสามารถจัดการตนเองได้ในขณะเผชิญเหตุฉุกเฉิน และมีการผอ่ งถ่ายอา นาจการบริหารจดัการใหท้อ้งถิ่นสามารถด าเนินการได้เองข รูปแบบการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขดังกล่าว หากสามารถ ก าหนดเป็ นแผนและแนวทางปฏิบัติที่เป็ นรูปธรรม มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ การถ่ายทอด เทคโนโลยีไปสู่การปฏิบัติท้งัในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคทอ้งถิ่นต้ังแต่ตา บลอา เภอ จงัหวดั เขต จนถึงระดับประเทศ ก็จะส่งผลให้การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและการจัดการสาธารณ ภัยด้านอื่นๆ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ น าไปสู่การเสริมสร้างความมนั่ คงของชาติสร้างความ ปลอดภัยแก่ประชาชน ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติอย่างยงั่ ยืน รวมท้งัในระดบั นานาชาติ ต่อไป

abstract:

ก Abstract Title The Management Model for Public Health Emergencies Affecting Disaster on National Security Field Social Psychology Name Dr.Pisit Sriprasert Course NDC (JSPS) Class 26 For more than two decades, a number of disasters have been occurred in almost all areas of the world and also in Thailand, such as earthquakes, building collapses, plane crashes, boat sinks, tsunami, flooding, fire, transportation accidents, political demonstrations and rallies including outbreaks of contagious diseases. All disasters, crisis, and emergency contribute to public health emergency since disasters are primary causes of diseases and health threats, resulted in illnesses and sudden death. For development of public health emergency management, the researcher has developed a management model for managing public health emergencies affecting national security threat by conducting a qualitative research. The study results have been effectively developed management model on public health emergencies with six-preparation method into three phases of managements, including the preparation stage (Preparation I: be ready), crisis stage (Preparation II: fully check, Preparation III: warning and Preparation VI: quickly response) and recovery stage (Preparation V: follow up and Preparation VI: synthesis) under Incident Command Systems: ICS . The mitigation and preparedness phases are crucial ones for preventing and protecting emergency losses. However, the management of responsible organizations was still inflexibilities. Therefore, there are needed to amended regulations and financial support for efficiency on work by preparing the procedure and rehearsed emergency responded plan. The emergency responses were still inefficiency. It should provide the operator team with the ability to work properly and contact from all responsible stakeholder within the network. It should encourage the local agencies that are responsible for emergency disaster and decentralize to local agencies. If the emergency responsible management has been planned into practices, including human resources in all levels and technical transferred to public and private organizations from sub-district to district, province, region, and national levels, it will contribute to the management of public health emergencies and other disaster management. As a result, the emergency responsible management is contributed to strengthening national security and safety to people, families, and communities, national levels with sustainable nation and international levels.