Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนำระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้ในกระทรวงกลาโหม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท พินิจ ฉัตรเสถียรพงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการนําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้ในกระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย พลโท พินิจ ฉัตรเสถียรพงศ์ นักศึกษา ปรอ.ร ู ่นที ๒๖ ุ กระทรวงกลาโหมมีกําลังพลทีเป็ นข้าราชการทหารปฏิบัติงานทุกลักษณะงาน ใช้วิธีการบริหารจัดการรูปแบบเดียวอาจไม่เหมาะสม เนืองจากบางลักษณะงานจะต้องใช้บุคลากรที มีความชํานาญสะสม ความเชียวชาญมานาน หรือบางลักษณะงานก็ไม่จําเป็ นต้องใช้ข้าราชการ ทหาร จึงได้ริเริมนําแนวความคิด “ระบบพลเรือนกลาโหม” มาใช้ในกระทรวงกลาโหม โดยการ แก้ไขกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม ซึ งบัญญัติไว้ในมาตราต่างๆ ประกอบกบได้มีการขับเคลือนโดยคณะกรรมการข้าราชการทหาร และคณะ ั อนุกรรมการฯ ต่าง ทีได้มีการแต่งตั5งขึ5น และได้กาหนดกรอบระยะเวลา ๔ ปี ให้แล้วเสร็จ แต ํ ่ปรากฏว่าไม่สามารถ ปฏิบัติตามแผนงานได้ เนืองจากหน่วยงานต่าง ๆ เห็นว่าระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมไม่มี ประโยชน์และอาจส่งผลกระทบต่อชี วิตรับราชการ จึงมีกระแสต่อต้านในทุกแห่ง แม้ว่า กระทรวงกลาโหมกาหนดเงือนไขว ํ าข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้รับจากข้าราชการทีบรรจุ เข้ ่ ามาใหม่ โดยไม่มีการบังคับให้ข้าราชการทหารทีดํารงตําแหน่งอยู่เดิมต้องเปลียนแปลงสถานะไปเป็ น ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ถึงแม้ระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมจะมีหลักการทีดี สอดคล้อง กบการบริหารจัดการด้านก ั าลังพลทีชัดเจนมีประสิทธิภาพ แต ํ ่ขณะเดียวกนระบบข้าราชการทหารก ั ็ เป็ นระบบทีพัฒนามาอยางต ่ ่อเนือง และยาวนานทําให้มีวัฒนธรรมทีมีลักษณะเป็ นเอกลักษณ์ การ นําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาบริหารจัดการในกระทรวงกลาโหม อาจสามารถแกปัญหา ้ หนึงแต่อาจนําไปสู้ปัญหาอืนตามมาได้เช่นเดียวกน จึงต้องมีการศึกษาให้รอบคอบ ทั ั 5งจุดดี และ ผลกระทบการปรับเปลียนให้มีระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม เป็ นเรืองทีต้องใช้เวลาในการ เตรียมความพร้อมของแต่ละส่วนราชการ ควรให้ความสําคัญกบการสร้างความพร้อมของระบบ ั ข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้มีโครงสร้างการบริหาร ระบบเงินเดือน และค่าตอบแทน การเข้าสู่ ในแต่ละตําแหน่งของระบบการประเมินผลและความกาวหน้าในแต ้ ่ละวิชาชีพ ซึงความพร้อมของ ระบบดังกล่าวจะสามารถนําไปสู่ความมันใจทีมีต  ่อระบบข้าราชการ พลเรือนกลาโหม และมี ทัศนคติทีดีในการปรับตัวกับระบบพลเรื อนกลาโหมเพิมมากขึ5น เพือเพิมโอกาสการตัดสินใจ เปลียนสถานภาพจากข้าราชการทหารเป็ นข้าราชการพลเรือนกลาโหม ข การจัดทําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ควรกาหนดให้มีโครงสร้างทีชัดเจน และ ํ ควรดําเนินการบรรจุข้าราชการใหม่ในระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ยกเว้นแต่ข้าราชการทหาร เดิมทีต้องการปรับเปลียนด้วยความสมัครใจและแรงจูงใจในการปรับเปลียนระบบข้าราชการทหาร มาเป็ นระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ประกอบกบการก ั าหนดให้ชัดเจน ว ํ ่าตําแหน่งใดเป็ น ข้าราชการพลเรือนกลาโหมโดยการจัดทําคําบรรยายลักษณะงานเทียบเคียงกบข้าราชการพลเรือน ั สามัญ รวมทั5งความกาวหน้าในสายอาชีพทีชัดเจน ซึงจะเห็นได้ว ้ ่าในสายงานทีกระทรวงกลาโหม กาหนดครอบคลุมทุกส ํ ่วนราชการ จึงควรกระทําอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยอาจดําเนินการใน ลักษณะหน่วยงานนํารอง แล้วทําการประเมินผลว่าควรทีจะยังคงมีระบบข้าราชการพลเรื อน กลาโหมอีกต่อไปหรือไม่

abstract:

0