สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
015617
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000058
เรื่อง:
แนวทางการนำระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้ในกระทรวงกลาโหม
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท พินิจ ฉัตรเสถียรพงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการนําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้ในกระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย พลโท พินิจ ฉัตรเสถียรพงศ์ นักศึกษา ปรอ.ร ู ่นที ๒๖ ุ กระทรวงกลาโหมมีกําลังพลทีเป็ นข้าราชการทหารปฏิบัติงานทุกลักษณะงาน ใช้วิธีการบริหารจัดการรูปแบบเดียวอาจไม่เหมาะสม เนืองจากบางลักษณะงานจะต้องใช้บุคลากรที มีความชํานาญสะสม ความเชียวชาญมานาน หรือบางลักษณะงานก็ไม่จําเป็ นต้องใช้ข้าราชการ ทหาร จึงได้ริเริมนําแนวความคิด “ระบบพลเรือนกลาโหม” มาใช้ในกระทรวงกลาโหม โดยการ แก้ไขกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม ซึ งบัญญัติไว้ในมาตราต่างๆ ประกอบกบได้มีการขับเคลือนโดยคณะกรรมการข้าราชการทหาร และคณะ ั อนุกรรมการฯ ต่าง ทีได้มีการแต่งตั5งขึ5น และได้กาหนดกรอบระยะเวลา ๔ ปี ให้แล้วเสร็จ แต ํ ่ปรากฏว่าไม่สามารถ ปฏิบัติตามแผนงานได้ เนืองจากหน่วยงานต่าง ๆ เห็นว่าระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมไม่มี ประโยชน์และอาจส่งผลกระทบต่อชี วิตรับราชการ จึงมีกระแสต่อต้านในทุกแห่ง แม้ว่า กระทรวงกลาโหมกาหนดเงือนไขว ํ าข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้รับจากข้าราชการทีบรรจุ เข้ ่ ามาใหม่ โดยไม่มีการบังคับให้ข้าราชการทหารทีดํารงตําแหน่งอยู่เดิมต้องเปลียนแปลงสถานะไปเป็ น ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ถึงแม้ระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมจะมีหลักการทีดี สอดคล้อง กบการบริหารจัดการด้านก ั าลังพลทีชัดเจนมีประสิทธิภาพ แต ํ ่ขณะเดียวกนระบบข้าราชการทหารก ั ็ เป็ นระบบทีพัฒนามาอยางต ่ ่อเนือง และยาวนานทําให้มีวัฒนธรรมทีมีลักษณะเป็ นเอกลักษณ์ การ นําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาบริหารจัดการในกระทรวงกลาโหม อาจสามารถแกปัญหา ้ หนึงแต่อาจนําไปสู้ปัญหาอืนตามมาได้เช่นเดียวกน จึงต้องมีการศึกษาให้รอบคอบ ทั ั 5งจุดดี และ ผลกระทบการปรับเปลียนให้มีระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม เป็ นเรืองทีต้องใช้เวลาในการ เตรียมความพร้อมของแต่ละส่วนราชการ ควรให้ความสําคัญกบการสร้างความพร้อมของระบบ ั ข้าราชการพลเรือนกลาโหมให้มีโครงสร้างการบริหาร ระบบเงินเดือน และค่าตอบแทน การเข้าสู่ ในแต่ละตําแหน่งของระบบการประเมินผลและความกาวหน้าในแต ้ ่ละวิชาชีพ ซึงความพร้อมของ ระบบดังกล่าวจะสามารถนําไปสู่ความมันใจทีมีต ่อระบบข้าราชการ พลเรือนกลาโหม และมี ทัศนคติทีดีในการปรับตัวกับระบบพลเรื อนกลาโหมเพิมมากขึ5น เพือเพิมโอกาสการตัดสินใจ เปลียนสถานภาพจากข้าราชการทหารเป็ นข้าราชการพลเรือนกลาโหม ข การจัดทําระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ควรกาหนดให้มีโครงสร้างทีชัดเจน และ ํ ควรดําเนินการบรรจุข้าราชการใหม่ในระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ยกเว้นแต่ข้าราชการทหาร เดิมทีต้องการปรับเปลียนด้วยความสมัครใจและแรงจูงใจในการปรับเปลียนระบบข้าราชการทหาร มาเป็ นระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม ประกอบกบการก ั าหนดให้ชัดเจน ว ํ ่าตําแหน่งใดเป็ น ข้าราชการพลเรือนกลาโหมโดยการจัดทําคําบรรยายลักษณะงานเทียบเคียงกบข้าราชการพลเรือน ั สามัญ รวมทั5งความกาวหน้าในสายอาชีพทีชัดเจน ซึงจะเห็นได้ว ้ ่าในสายงานทีกระทรวงกลาโหม กาหนดครอบคลุมทุกส ํ ่วนราชการ จึงควรกระทําอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยอาจดําเนินการใน ลักษณะหน่วยงานนํารอง แล้วทําการประเมินผลว่าควรทีจะยังคงมีระบบข้าราชการพลเรื อน กลาโหมอีกต่อไปหรือไม่
abstract:
0