Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: รูปแบบการจัดบริการที่มีคุณภาพของสถานีตำรวจนครบาลเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน ในเขตกองบังคับการตำรวจนครบาล 7

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ปิยะ ต๊ะวิชัย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง รูปแบบการจัดบริการที่มีคุณภาพของสถานีต ารวจนครบาล เพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชนและชุมชน ในเขตกองบังคับการต ารวจนครบาล 7 ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พลต ารวจตรี ปิ ยะ ต๊ะวิชัย หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่26 การวิจัยเรื่ องรู ปแบบการจัดบริ การที่มีคุณภาพของสถานี ต ารวจนครบาล เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน การให้บริ การของเจ้าหน้าที่ต ารวจ สถานีต ารวจนครบาล ในเขตกองบังคับการต ารวจนครบาล 7 ให้ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและชุมชน เป็ นการวิจัยแบบผสมระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ ร่วมกับการวิจัยเชิง ปริมาณ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการความคาดหวังของประชาชน , ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพ การท างานและการให้บริ การที่มีคุณภาพของเจ้าหน้าที่ต ารวจ และรูปแบบการให้บริ การที่มี คุณภาพของสถานีต ารวจนครบาล สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ก าหนดขอบเขตการศึกษาจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ซึ่งเป็ น ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ทางด้านการบริ หารจัดการงานต ารวจ และการให้บริการแก่ ประชาชนของต ารวจโดยแบ่งออกเป็ น 4กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่1 กลุ่มประชาชนที่มีประสบการณ์รับ บริการจากสถานีต ารวจนครบาล กลุ่มที่2 กลุ่มผู้บริหารระดับสูงของส านักงานต ารวจแห่งชาติ กลุ่มที่3 กลุ่มผู้บริหารระดับกลางของส านักงานต ารวจแห่งชาติกลุ่มที่ 4 คือ ผู้ปฏิบัติตามนโยบาย ในสถานีต ารวจนครบาลซึ่งเป็ นผู้ที่น านโยบายไปสู่ภาคปฏิบัติโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการ สนทนากลุ่ม จากน้ันไดน้ า การวิจยัเชิงปริมาณกบักลุ่มตวัอย่างภาคประชาชนในเขตกองบังคับ การต ารวจนครบาล 7 ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการให้บริ การที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย การเข้าใจใน ความต้องการของผู้รับบริการ , การสร้างภาคีเครือข่าย , การถ่ายทอดนโยบาย และการกระจายงาน , การให้บริ การที่เท่าเทียมเสมอภาคกัน, ความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริ การ , พฤติกรรมบริ การ , ระยะเวลาในการให้บริการ , การเข้าถึงเข้ารับบริการ , การสร้างนวัตกรรมในการบริการ และการ พัฒนาบุคลากร ผู้วิจัยขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังต่อไป ควรมีการวิจัยถึงคุณลักษณะของแต่ ละองค์ประกอบ , การน ารู ปแบบมาใช้ทดลองในการปฏิบัติงานจริ ง ตลอดจนการศึกษา เปรียบเทียบ เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริ การที่ดี และสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้ในที่สุด

abstract:

ABSTRACT Title Services quality Model of Police Stations, Metropolitans Division 7, to support citizen and community demand Field Social –Psychology Name Pol.Maj.Gen Piya tavichai Course NDC ( JSPS ) Class 26 The purposes of this study, the services quality model of Metropolitans Police Stations, are (1) to determine citizen and community need of service in Police Stations, Metropolitans Division 7 (2) to define factor of the qualification services and (3) to create the services model these will support to the community needs. The research methodology was combined between quantitative and qualitative research. The qualitative research was conducted by in-depth interview and focus group with 4 groups of key informants who were (1) group of citizen who had experience in services of the metropolitan (2) group of top management of the Royal Thai Police (3) group of middle management of the Royal Thai Police (4) group of practitioners of the Royal Thai Police. The quantitative research was conducted by the citizens in Polices division 7 The research results revealed that the component of quality services model should consist of (1) Understanding to the citizen and community needs (2) Networking contribute (3) Deploy the policies and delegations (4) Equality services (5) Reliability of frontline service (6) Services behavior (7) timeliness of services (8) Accessibility through services (9) Novel services are created (10) Development of services provider. The suggestion for the next research are (1) study the characteristic of those component (2) apply these model to practice to ensure these model is compatible.