Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ผลกระทบของกากถั่วเหลืองต่อห่วงโซ่อุปทานอาหารของประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นิพนธ์ ลีละศิธร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง ผลกระทบของกากถั วเหลืองต่อห่วงโซ่อปทานอาหารของประเทศไทย ุ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นายนิพนธ์ ลีละศิธร หลักส ู ูตร ปรอ. ร่นที ./ ุ ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ขนาดใหญ่ มีการขยายตัวอย่าง ต่อเนื!อง ปี "### มีความต้องการอาหารสัตว์ &#.( ล้านตัน ความต้องการวัตถุดิบเพื!อใช้ในการ ผลิตอาหารสัตว์ -#% เป็ นวัตถุดิบภายในประเทศ และ 2#% เป็ นวัตถุดิบที!ต้องนําเข้าจาก ต่างประเทศ ซึ! งเป็ นกลุ่มของแหล่งโปรตีนที!ประเทศไทยไม่สามารถผลิตได้เพียงพอ ได้แก่ ถัวเหลือง และกากถั ! วเหลือง ทําให้ประเทศไทยมีความเสี!ยงในการพึ!งวัตถุดิบ ! จากต่างประเทศ ดังนั8น การวิจัยนี8จึงมีวัตถุประสงค์เพื!อศึกษาโครงสร้างความต้องการวัตถุดิบ กากถั!วเหลือง ระบบโลจิสติกส์ แนวทาง มาตรการ นโยบายการส่งเสริมของภาครัฐและเสนอแนวทางแกไขปัญหา ้ ความไม่เพียงพอของวัตถุดิบอาหารสัตว์ กากถัวเหลือง ที!อาจมีผลต ! ่อห่วงโซ่อุปทานอาหารของ ประเทศไทย ขอบเขตการวิจัยจะวิเคราะห์แนวนโยบายภาครัฐ การใช้ข้อมูลเชิงสถิติ เชิงปริมาณ ผลผลิต การเพาะปลูก พื8นที! ต้นทุนการผลิต ความต้องการส่งออกและนําเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ดําเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิและเอกสารงานวิจัยต่างๆ จากหน่วยงานที! เก ี!ยวข้อง ผลการวิจัยทราบถึงแนวโน้มความต้องการโครงสร้างการผลิตอาหารของโลก ภาพรวม พัฒนาการอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในอดีตถึงปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ผลกระทบและแนว ทางแกไขปัญหาความไม ้ ่เพียงพอของวัตถุดิบจากการขาดแคลนวัตถุดิบแหล่งโปรตีนที!สําคัญของ ประเทศไทย ข้อเสนอแนะด้านการผลิต ประเทศไทยต้องเพิ!มผลผลิตถั!วเหลืองภายในประเทศ สําหรับรองรับการใช้ที! ( เดือนด้วยวิธีการเพิ!มพื8นที!เพาะปลูก ผลผลิตต่อไร่ รวมถึงส่งเสริมการ เพาะปลูกไปยังประเทศเพื!อนบ้าน จากการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงการ สนับสนุนโครงการวิจัยต่างๆ ของภาครัฐและภาคเอกชน เพื!อพัฒนาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที!สามารถ ทดแทนแหล่งโปรตีนจากถัวเหลือง รวมถึงพัฒนาเทคนิคการผลิตอาหารสัตว์เพื!อการใช ! ้ประโยชน์ จากแหล่งโปรตีนที!มีอยูอย่ างจําก ่ ด ซึ!งเป็ นแนวคิดของการใช้ประโยชน์จากคุณค ั ่าทางโภชนะที!มีอยู่ ในวัตถุดิบให้เกิดประโยชน์สูงสุด

abstract:

ABSTRACT Title Impact of Soybean Meal in Thailand’s Food Supply Chain Field Economics Name Mr. Nipon Leelasithorn Course NDC (JSPS) Class 26 Thailand has a large feed industry which has been expanding continuously. In 2012, total feed demand in Thailand was up to 15.4 million metric tons. The demand of raw materials used in feed production can be divided into 2 proportions: 65% from local and 35% from overseas which are mainly imported as protein sources due to its locally insufficient supply i.e. soybean and soybean meal. It is risky for our country to rely on such imported materials. Therefore, the objectives of this research were to examine the demand of soybean & soybean meal, logistics system, government’s measures & policies while also suggest the practical ways to solve the insufficient protein source as mentioned earlier. The scope of this research was to analyze governmental policies by utilizing statistics data, quantitative data of production, plantation, landscape, production costs, the demand of import & export of feed ingredients with qualitative methodology by collecting secondary data as well as researches from related organizations. The results showed the tendency of world food production demand, the development of feed industry from the past to the future, the impact and problem solving of raw materials shortage especially protein sources. As a consequence of this research, we would recommend that Thailand has to increase soybean stock supply approximately 4 months of country consumption by increasing planting areas, yield, including expanding soybean areas in neighboring countries due to AEC community agreement together with supporting research projects of government and private sectors in order to develop new protein sources substituted for soybean meal including developing feed formulation technique for the ultimate use of limited protein source as per the concept of utmost nutrient utilization.