Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กลยุทธ์ของธนาคารกลางในการยกระดับเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ในบริบทการเปิดเสรีทางการเงินในอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว นวพร มหารักขกะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ เรือง กลยุทธ์ของธนาคารกลางในการยกระดับเศรษฐกิจอย่างยังยืนในบริบท การเปิ ดเสรีทางการเงินในอาเซียน ผ้วิจัย นางสาวนวพร มหารักขกะ หลักส ู ูตร ปรอ. ร่นที -. ุ ตําแหน่ง ผ้ช่วยผ ู ้ว่าการ สายตรวจสอบกิจการภายใน ู ความเป็ นมา และความสําคัญของปัญหา งานศึกษานี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์ของประเทศต่าง ๆ กบไทย ั ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน และการกาวข้าม Middle-income Trap โดยวิเคราะห์ ้ สภาวะแวดล้อม จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความเสี9ยงที9เศรษฐกิจไทยจะประสบปัญหา Middle￾income Trap และ ศึกษาความท้าทายด้านนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และแนวทางการ พัฒนากลยุทธ์องค์กรและกรอบนโยบายของ ธปท. ในการมีบทบาทนโยบายด้านอุปทาน (Supply￾side Policy) ควบคู่กบดูแลเสถียรภาพเศรษฐก ั ิจการเงินอยางเหมาะสม และใช้โอกาสเพิ ่ มอํานาจการ ต่อรองในเวทีเศรษฐกิจการเงินโลก กาหนดกติกาสากลด้านระบบการเงินโลกให้เหมาะสมก ํ บประเทศ ั ในภูมิภาคมากขึ น ซึงถือได้วาเป็ นกลยุทธ์ในเชิงรุกเพือดูแลเสถียรภาพทางการเงิน ่ ขอบเขตของการวิจัยครอบคลุมแนวคิดทางทฤษฎีด้านการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ การวางกรอบนโยบายของธนาคารกลางทั งด้านนโยบายการเงิน นโยบายเสถียรภาพ ทางการเงิน รวมถึงการศึกษาความท้าทายในการกาวข้าม Middle-income Trap ตลอดจนนัยของการ ้ เปิ ดเสรีทางการเงินในอาเซียน ต่อความท้าทายของธนาคารกลาง งานศึกษานีBเป็ นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยจะศึกษาจากบทความเชิงวิชาการ งานวิเคราะห์ และงานวิจัยในประเด็นที9เกี9ยวข้องทัBงในประเทศ และต่างประเทศ ผลศึกษาพบวาการขยายตัวของไทยในช ่ ่วง พ.ศ. 2543 – 2553 ตํากวาในช ่ ่วง พ.ศ. 2523 – 2533 อยางไรก ่ ็ตามไทยมีจุดแข็งในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ แต่มีจุดอ่อนด้านการกระจาย รายได้ ขณะทีความสามารถในการแข่งขันอ่อนลงไทยมีลักษณะทีอาจเข้าข่ายติดกบดักประเทศรายได้ ั ปานกลาง (Middle-income Trap) ปัจจัยถ่วง คือ ประสิทธิภาพของภาครัฐ โครงสร้างพื นฐาน และที เป็ นจุดอ่อนอย่างมาก คือ ความอ่อนแอของระบบการบริ หารจัดการประเทศ การติดสินบนและ ข คอร์รัปชัน ความไม  ่โปร่งใส ความท้าทายจะสูงขึ นในระยะยาวหากไม่มีมาตรการทีเหมาะสม ปัจจัย ท้าทาย คือ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ทําให้ความต้องการบริการสังคมสงเคราะห์ (Social Welfare) จะสูงขึ น ขณะเดียวกนวินัยทางการเงินอ ั ่อนลงในภาคครัวเรือนและในภาคการเงิน ของรัฐ ฐานะการ เงินภาครัฐมีความซับซ้อนมากขึ น ความโปร่งใสลดลงจากภาระหนี ทีไม่เปิ ดเผยใน งบดุลหรืออยูนอกงบประมาณ (Contingent liability) ่ ความท้าทายด้านนโยบายของ ธปท. และการประเมินโอกาสที ธปท. จะใช้จุดแข็งของ ระบบการเงินและขององค์กรในการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย พบวาบทบาทด้านเสถียรภาพ ่ นโยบายการเงินมีจุดแข็ง คือ มีกรอบการดําเนินนโยบายการเงินทีใช้ได้ผลในการดูแลเสถียรภาพ แม้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจโลก จึงมีทุนด้านความน่าเชือถือในระดับประเทศและระดับสากล มีความ พร้อมด้านการวิเคราะห์และวิจัย บทบาทด้านเสถียรภาพระบบสถาบันการเงิน ธปท. จุดแข็ง คือ กรอบการกากํ บตรวจสอบสถาบันการเงินทีเป็ นมาตรฐานสากล ผู้ก ั ากํ บได้รับการยอมรับในระดับ ั สากล บทบาทด้านวิจัย ธปท. มีจุดแข็ง คือ มีข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ระบบการเงิน บุคลากรทีมีความ สามารถ ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนากลยุทธ์องค์กรและกรอบการนโยบายของ ธปท. ใน การมีบทบาทในนโยบายด้านอุปทานควบคู่กบการดูแลเสถียรภาพเศรษฐก ั ิจการเงินอยางเหมาะสม ่ ได้แก่ ด้านบทบาทด้านเสถียรภาพนโยบายการเงิน ควรเสริมสร้างกระบวนการวิเคราะห์ วิจัย เพื9อ เสนอแนะนโยบายจะมีความท้าทายและซับซ้อนมากขึBน เช่น มาตรการด้าน Macroprudential ศักยภาพ การเติบโต (Growth Potential) ของเศรษฐกิจในระยะยาว โครงสร้างระบบการเงินและรูปแบบสถาบัน การเงินที9เหมาะสมกบประเทศไทย ความเสี9ยงที9สําคัญในระบบการชําระเงินเมื9อมี ั การเปิ ดเสรี AEC ด้านบทบาทด้านเสถียรภาพระบบสถาบันการเงิน ควรเสริมการประสานงานกบสมาคมธนาคาร ั ภาคธุรกิจ เพือแลกเปลียนข้อมูลและมุมมองเกี ยวกบการเปลียนแปลงสภาวะแวดล้อมทีเป็ นความท้าทาย ั เช่น การหารือประเด็นเสถียรภาพระบบการเงิน (Financial Stability) ข้อเสนอด้านบทบาทงานวิจัยเพือยกระดับศักยภาพการเติบโตของเศรษฐกิจอยางยั ่ งยืน  ธปท. ควรร่วมมือกบภาคส ั ่วนทีเกียวข้องคือ รัฐบาล เอกชน องค์กรอิสระ สถาบันการศึกษา เพือผลักดัน ให้มีการจัดตั งสถาบันวิจัยทีมีความเป็ นอิสระจากรัฐบาลหรือเอกชนกลุ่มใดกลุ่มหนึงเพือทําการวิจัย นโยบายของชาติ ทีสําคัญได้แก่ วิเคราะห์และเสนอนโยบายของชาติเรืองการดูแลผลกระทบของ การกาวสู ้ ่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ต่อฐานะการเงินของระบบสวัสดิการสังคม (Social Welfare) ความพร้อมของตลาดทุนในประเทศให้สามารถบริหารจัดการการลงทุนระยะยาว ศึกษาวิจัยแนวทาง และวางกรอบเพือเสริมสร้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของภาระหนี สินโดยตรงและทางอ้อม ของภาครัฐ โดยมีการเปิ ดเผยข้อมูลตามมาตรฐานสากล มีการตรวจสอบจากองค์กรอิสระ รวมทั ง ค สามารถสื อให้ประชาชนและตลาดการเงินเข◌้าใจเพือใช้วิจัยและเสริ มวินัยทางตลาด (Market Discipline) โดยข้อมูลทีโปร่งใสจะช่วยให้ภาคส่วนทีเป็ นอิสระจากฝ่ ายบริ หาร และมีความสามารถ วิเคราะห์เชิงลึก มีบทบาทสอบทานข้อมูลทีมีความซับซ้อนด้านธุรกรรมทางการเงินภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ เสริมความโปร่งใสและกระบวนการตรวจสอบโดยภาค ประชาชนและองค์กรอิสระได้เข้มแข็งมากขึ น

abstract:

ABSTRACT Title Appropriate Strategy for Central Bank in Facilitating Strengthening of Economic Growth Potential in the Context of Financial Liberalisation in ASEAN Field Economics Name Ms Nawaporn Maharagkaga Course NDC (JSPS) Class 26 The objectives of this research are (1) to study the experience of economic developments in countries which have been successful in upgrading economic growth potential and competitiveness to overcome the risk of Middle-income trap, and to compare these with the case of Thailand; (2) to scan the environment, and carry out a Strength Weakness Opportunity and Threat (SWOT) analysis of the Thai economy, as well as assessing the challenge facing the Thai economy in avoiding middle-income trap, and (3) to examine the challenge of the Bank of Thailand in setting appropriate strategy for utilizing her strength in helping to propel economic structural reform that will enhance Thailand’s sustainable growth potential, while not compromising the central bank’s primary mandate of maintaining credible monetary policy and financial stability. The scope of this research covers theories on economic growth, development economics and the challenge of middle-income trap, theory on central bank governance and conduct of monetary policy, and financial stability. The research examines the evolution of these theories and policy frameworks due to lesson learnt from the economic and financial crisis of the 1990s and 2000s, and their appropriateness in the context of the Bank of Thailand. On methodology, this is a qualitative research, based on analysing economic data and literature reviews of theories and research work of academics, central banks, government economic agencies, and international economic organizations, to examine comparative country experience, changing economic environment, and the determinants of overcoming middle-income trap. The key result of the study are (1) From SWOT analysis, Thailand’s average economic growth in the last decade has lowered from the prior decade, while current economic stability is a key strength, the key challenges and weakness are eroding competitiveness and large income inequality. This is due mainly to depleting relative comparative advantage in labour market due 2 to Aging Society phenomenon, depleting natural resources, and institutional weakness in the public sector particularly law and order which hampered economic structural developments that could increase productivity and transition to higher-value added economic activities. Thus, there is a potential risk of a middle-income trap, which could potentially affect economic stability as well as efforts for social and political reforms in the longer term; (2) SWOT analysis of the Bank of Thailand shows that it has unique institutional strength including credible monetary policy framework, financial regulation that meets international best practice, and research capacity which are rigourous and deemed to have credibility and integrity; and (3) The Bank of Thailand faces strategic challenge in setting appropriate policy strategy framework in deploying its strength to help facilitate strengthening economic potential while not compromising on primary mandates of monetary and financial stability. The challenge is all the more complex in the current volatile global economic and financial environment after the global economic crisis in developed economies, uncertainty in domestic political situation, as well as the structural changes for economic liberalization and integration in ASEAN. The key recommendation are (1) on monetary policy, the structural shifts and volatility in global economic and financial system adds to complexity in economic analysis and policy setting, thus the Bank of Thailand needs to strengthen its research capacity in key areas such as monetary transmission, macroprudential policy, and the study of potential growth; (2) on financial stability, the analytical and policy framework should be strengthened in the areas of financial stability, understanding of macro-financial linkages, including creating appropriate framework and forum for incorporating qualitative information and market intelligence from market participants; (3) fostering establishing independent Economic Think Tank, in the vein of NBER, to study major issues such as policy implication of Aging Society and appropriate social welfare system, fiscal sustainability, sustainable financing for infrastructural investment, governance for state enterprises and public sectors, including auditing and transparency framework that meets international best practice, to help utilizing market forces as additional governance discipline on public sector economic activities.