Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ตำบลชายแดนภาคตะวันตก ของสำนักงานพัฒนาภาค 1 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา,The development in the western border region under the Sufficiency Economy Philosophy, 1st Regional Development Office, Armed Forces Development Command.

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. จรัญ ดุษฎี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง : แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ต าบลชายแดนภาคตะวันตก ของส านักงานพัฒนาภาค ๑ หน่วยบัญชาการ ทหารพัฒนา โดย : พันเอก จรัญ ดุษฎี สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อาทิตย์ เจนจบสกลกิจ) กรกฎาคม ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีพื้นที่ต าบลชายแดน จ านวนทั้งสิ้น ๓๖๘ ต าบล พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นป่าไม้ แหล่งต้นน้ าล าธาร แหล่งทรัพยากรอันมีค่าของประเทศ สภาพชุมชนอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร การ ขนส่งผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดเป็นไปด้วยความยากล าบาก การประกอบอาชีพเกษตรกรรม ของราษฎร จะมีลักษณะเป็นการท าไร่เลื่อนลอย ซึ่งต้องบุกรุกท าลายป่าไม้อย่างต่อเนื่องเนื่องจากขาด ความรู้ความเข้าใจ การบริหารพื้นที่ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการปรับปรุงบ ารุงดิน พื้นที่ดินเสื่อมสภาพลง ในเวลาอันรวดเร็ว โดยเฉพาะป่าต้นน้ าล าธาร แหล่งน้ าตามธรรมชาติไม่สามารถกักเก็บน้ าไว้ได้ ทั้ง ปัญหาฝนแล้ง อุทกภัย และสารพิษจากการเกษตรบนพื้นที่ต้นน้ าล าธาร และส่งผลเสียหายต่อราษฎร โดยส่วนรวม ปัจจุบันสภาพป่าถูกท าลายลงเป็นจ านวนมากและมีแนวโน้มที่จะถูกท าลายต่อไปอย่างไม่ หยุดยั้ง สภาพพื้นที่ที่ห่างไกลเส้นทางคมนาคมยากล าบาก ส่งผลให้หน่วยงานราชการต่าง ๆ ไม่สามารถ เข้าไปดูแลและน าความเจริญเข้าสู่พื้นที่ได้ ชุมชนมีรายได้ไม่เพียงพอ มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดตาม แนวชายแดนอีกทั้งรัฐบาลได้ก าหนดนโยบายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ชัดเจน ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ต าบลชายแดนส่วนใหญ่ ยังคงมีฐานะยากจน และขาดโอกาสในการ บริการทางสังคมของรัฐ ทั้งอาจก่อให้เกิดปัญหาอุปสรรคต่อกระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม และ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส านักงานพัฒนาภาค ๑ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ซึ่งมีภารกิจในด้านการพัฒนาเพื่อความ มั่นคงและความอยู่ดีกินดีของราษฎร ในเขตพื้นที่พัฒนารับผิดชอบทั้งภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาค ตะวันออก จึงได้น าเอาแนวทางตามพระราชด าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนาง เจ้า พระบรมราชินีนาถ ในการที่จะให้คน สัตว์ และป่าได้อยู่ร่วมกันอย่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน จน คนสามารถอยู่ได้อย่างมีความสุข และช่วยดูแลรักษา จัดการและใช้ประโยชน์จากป่า มาด าเนินการ โดย ด าเนินการในลักษณะที่จะอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่า พร้อมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ต าบล ชายแดนให้มีศักยภาพสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลโดยค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ มา วิเคราะห์ก าหนดแนวทางพบว่าได้ประสบปัญหาในการด าเนินการหลายประการ เนื่องจากการพัฒนา ชนบทไม่มีสูตรส าเร็จ ราษฎรยังไม่สามารถขยายผลจากการพัฒนาในการสร้างคุณภาพชีวิต ให้เกิดขึ้นกับ ตนเองและชุมชนได้ เอกสารวิจัยฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน ๓ ท่าน ซึ่งประกอบด้วย ผู้อ านวยการส านักงานพัฒนาภาค ๑ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา รอง ผู้อ านวยการส านักงานพัฒนาภาค ๑ ฯ และ ผู้บังคับหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๑๓ ส านักงานพัฒนา ภาค ๑ ฯรวมทั้งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากเอกสารทางวิชาการ แนวคิดทฤษฎีผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง และได้ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการของหน่วยงาน ปัญหา ข้อขัดข้อง และ ข้อจ ากัดต่างๆ ของชุมชน พบว่า การพัฒนาในห้วงที่ผ่านประสบปัญหาในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาคือราษฎร และแผนการด าเนินการ จึงได้น ามาวิเคราะห์ประยุกต์ หาแนวทางที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของชุมชนในพื้นที่ต าบลชายแดนภาคตะวันตก เพื่อเป็นการ พัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นแบบอย่างแก่ชุมชนอื่น ผู้วิจัยได้เสนอแนะแนวทางในการพัฒนา ที่ต้องท า แบบค่อยเป็นค่อยไป ตามล าดับขั้นตอน ใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยเน้นเรื่อง “คน” เป็น หลักในการพัฒนา การมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ราษฎรพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด ซึ่งเป็นหลักการ พัฒนาแบบยั่งยืน

abstract:

ABSTRACT Title : The development in the western border region under the Sufficiency Economy Philosophy, 1 stRegional Development Office, Armed Forces Development Command. By : Colonel Charan Dusadee Major Field : Military Research Advisor: Group Captain (Arthit Janejobsakonkit) July 2015 Thailand currently has 368 border sub-districts. Most of the area in these sub￾districts contains the country’s valuable resources, forest and watershed. Local community is located in remote and undeveloped area, which makes it difficult to transport agricultural products to the market. Local farmer mainly relies on shifting cultivation resulting in continuing deforestation. This is mainly due to a lack of knowledge, inefficient land management and no soil improvement. These problems have led to deteriorating soil quality especially the soil in natural water reservoir area that could no longer retain water. There are also problems from drought; flooding and toxic from agricultural activities which adversely affect the local community. Up until present, substantial amount of deforestation has happened with a tendency to be more severe in the future. Difficulties in transportation also hinder government agencies to access and bring in developments into the area. This results in insufficient income for local people and a spread of drug usages along the border. On top of that, the government’s explicit policies on conservation of natural resources is also another factor that constrains income of the local community in the border sub-districts This could be the major obstruction for economic and social development process and could also severely impact national security in politics, economy, sociology, military, as well as international relations. 1 stRegional Development Office of the Armed Forces Development Command (AFDC), which are responsible for developing various aspects of a community in order to ensure residences’ security and welfare in Central, Western and Eastern regions of Thailand, had adopted His Majesty the King’s and Her Majesty’s the Queen’s principles to develop a way to enable man, animals, and forests to co-exist in nature in a beneficial way towards one another. The Development Office aims to work in a way that preserves and recovers the forests’ state of being, as well as improves the livelihood of residences in the border areas, in order to enable them to be self￾reliance. Researchers have found, however, that the work was presented with a number of problems, since rural development has no exact formula, and residences still have not yet been able to utilize the results of the development to improve their live, or their community. This research is based on in-depth interviews provided by 3 council members: Director of 1stRegional Development Office of Armed Forces Development Command, deputy director of the 1st Regional Development Office and Former Commander of Mobile Development Unit 13. Additionally, the secondary data such as academic papers and related theoretical researches have been collected. The research was based on a study on the conditions and problems that arise from the operation as well as problems and limitations that the communities have. The research found that the recent developments have limitations in different areas, such as, government agencies, the development goal (i.e. local residences) and the operational plan. Therefore, these factors were analyzed in order to find a proper approach for development in the western border sub-districts, which could become a sustainable community model for other communities. The researcher has recommended a step-by-step approach for development and implementation and has suggested applying local resources and local wisdoms with the focus on “Human” and stakeholder involvement during the development process. This will help ensuring residences to be self-reliance which is the key of sustainable development.