Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบูรณาการบริหารจัดการน้ำในลุ่มแม่น้ำปิงตอนบนและเขตเศรษฐกิจเมืองเชียงใหม่เพื่อเศรษฐกิจมั่นคงอย่างยั่งยืนของจังหวัดเชียงใหม่,Integration Water Management of Upper Ping River Basin and Chiang Mai Economics Zone for Economics Substantial Security of Chiang Mai Province

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย อรรถวิทย์ นาควัชระ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การบูรณาการบริหารจัดการน ้าในลุ่มน ้าปิงตอนบนและเขตเศรษฐกิจเมือง เชียงใหม่ เพื่อเศรษฐกิจมั่นคงอย่างยั่งยืนของจังหวัดเชียงใหม่ โดย : นายอรรถวิทย์ นาควัชระ สาขาวิชา : การเศรษฐกิจ อาจารยท์ ี่ปรึกษาเอกสารวิจยั : ดร.กอบเกียรติ ผ่องพุฒิ (....................................) วัน เดือน ปี นาวาอากาศเอก อาทิตย์ เจนจบสกลกิจ (....................................) วัน เดือน ปี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาพื้นที่ลุ่มน ้าปิงตอนบน โดยเฉพาะเขตอ าเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ ได้เกิดปัญหาน ้าท่วมขังในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูฝน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่ผันแปร ประกอบกับปริมาณฝนที่ตกหนักต่อเนื่องและปริมาณน ้าจากพื้นที่รอบนอกไหลเข้าสมทบ พื้นที่ที่ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดน ้าท่วมในพื้นที่ลุ่มน ้าปิงตอนบน คือในเขตอ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ตัวเมืองเชียงใหม่ที่อยู่ริมแม่น ้าปิง และพื้นที่น ้าท่วมตัวเมืองเชียงใหม่ด้าน ทิศตะวันตก ดังเช่นเหตุการณ์น ้าหลากในปี พ.ศ.๒๕๔๘ นับว่าเป็นเหตุการณ์น ้าท่วมครั้งใหญ่ ที่สุดในรอบ ๕๐ ปี แต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นนับได้ว่ารุนแรงที่สุดที่มีการบันทึกไว้ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้เกิดน ้าท่วมรุนแรงอีกครั้งในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งสองครั้งสร้าง ความเสียหายให้กับจังหวัด และส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางเขตเศรษฐกิจเมืองเชียงใหม่ และพื้นที่ในลุ่มน ้าปิงตอนบนอย่างมาก ดังนั้น การก าหนดแนวทางการบริหารจัดการน ้าในพื้นที่ลุ่ม น ้าปิงอย่างบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ จะเป็นกระบวนการที่ส าคัญในการจัดการน ้าหลากที่เกิดขึ้น ในฤดูฝน ให้สามารถระบายออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยน ้าท่วมได้เร็วขึ้นและมากขึ้น ไม่ส่งผลกระทบกับ พื้นที่ส าคัญทางเศรษฐกิจและที่พักอาศัยของราษฎร รวมทั้งสามารถวางแผนการจัดสรรน ้าในช่วง ฤดูแล้งให้กับพื้นที่ลุ่มน ้าปิงตอนบน ส าหรับกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย การเกษตร การอุปโภค￾บริโภค การอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การรักษาระบบนิเวศของลุ่มน ้า และการส่งเสริมความ มั่นคงของเขตเศรษฐกิจเมืองเชียงใหม่ ได้อย่างสมดุลและสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐต่อไป ซึ่งผลที่ได้จากงานวิจัยนี้ได้แก่บทสรุปจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลคือผู้บริหารจากกรม ชลประทาน โครงการชลประทานเชียงใหม่ และเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ยังได้ศึกษา ความเป็นไปได้ในการน าบทสรุปค าตอบของผู้บริหารที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานบริหารจัดการน ้า ของจังหวัดเชียงใหม่เพื่อศึกษาความความเป็นไปได้ในใช้แผนดังกล่าว เพื่อป้องกันการเกิด อุทกภัยในเขตเมืองเชียงใหม่ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์จากกลุ่มประชากรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 30 ราย มีความเห็นว่าแผนงานและมาตรการที่ได้จากบทสรุปงานวิจัย มีความเป็นไปได้ในระดับมาก ถึง มากที่สุดในการใช้งานจริง

abstract:

ABSTRACT Title : Integration Water Management of Upper Ping River Basin and Chiang Mai Economic Zone for Economics Substantial Security of Chiang Mai Province By : Attavit Nakvatchara Major Field : Engineering ……………………….…..…..….… (Mr. Attavit Nakvatchara) Date Month Year Research Advisor………………….….…….... (Group Captain Arthit Janejobsakonkit) Date Month Year In recent years, in the Upper Ping River Basin area espacailly the Chiang Mai city has encountered flooding in many economics areas during the rainy season. Due to climate inconsistency and the amount of heavy rain with continuous inflow of water, the Upper Ping River Basin area has a high risk of flooding including the city of Chiang Mai where most of the economics areas are located along the Ping River. The city flood in the year 2005 is the biggest floods in 50 years when the damage occurred were the most intense on history record. Moreover, the year 2011 severe flood occured again in Chiang Mai city and affect the economic stability of the city. Consequently, the guidelines for the flood management in the Ping watershed are needed to be integrated for more efficiency during rainy season, to faster drain flood water out from flood-risk areas, to protect major economic impact on the city area, and to preserve the ecology of the watershed with promoting economic stability of the city through a balanced and consistent with the government policy. The results of this research include the conclusion of insights information from the Royal Irrigation Department, Chiang Mai Irrigation Project, and Chiang Mai Municipality executives. This research is also studied the possibility of bringing a summary of the executives answer which is involved with water management of the Chiang Mai City to study the feasibility of using their plans to prevent flooding in the city. The results from the analysis of 3 0 stakeholders’ population have agreed that the research summary plans and report have high to highest feasibility level as actual practical use as the Integration plan of Upper Ping River water management for Chiang Mai city economics substantial security.