Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการป้องกันนักบินกองทัพอากาศลาออก กรณีศึกษาฝูงบิน 231 กองบิน 23,Finding Method Resignation of Pilot From Royal Thai Air Force For Case Study Squadron 231 Wing 23

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. โสรวาร ป้อมสนาม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง : แนวทางการแก้ปัญหานักบินกองทัพอากาศลาออก กรณีศึกษาฝูงบิน ๒๓๑ กองบิน ๒๓ โดย : นาวาอากาศเอก โสรวาร ป้อมสนาม สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (ถาวร ส าอางค์ศรี) กรกฎาคม ๒๕๕๘ ภารกิจหนึ่งของกองทัพอากาศคือการป้องกันประเทศ ปัจจัยหนึ่งที่ท าให้ภารกิจกองทัพอากาศ ส าเร็จคือบุคลากร โดยเฉพาะนักรบของกองทัพอากาศคือนักบินที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถในการ ปฏิบัติงาน กองบิน ๒๓ ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรงหน่วยหนึ่งของกองทัพอากาศที่มีเครื่องบินแบบ บ.จ.๗ ประจ าการอยู่ โดยมีฝูง ๒๓๑ เป็นหน่วยขึ้นตรงกองบิน ๒๓ ท าหน้าที่บริหาร คน ทรัพยากร และ งบประมาณเพื่อให้ภารกิจส าเร็จ จากปัญหาที่เกิดขึ้นคือ มีนักบิน บ.จ.๗ ลาออกจากกองทัพอากาศและ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ดังนั้นกองทัพอากาศ โดยเฉพาะกองบิน ๒๓ ควรมีแนวทางในการด าเนินการป้องกัน การลาออกของนักบิน บ.จ.๗ ซึ่งจะเกิดผลกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจของกองบิน ๒๓ และ กองทัพอากาศ ในอนาคต จากปัญหาที่กองบิน ๒๓ ประสบคือปี พ.ศ.๒๕๕๗ นักบิน บ.จ.๗ ของฝูงบิน ๒๓๑ ลาออก จ านวน ๒ คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยสาเหตุต่างๆ เช่น ค่าตอบแทน ทัศนคติของนักบินที่ เปลี่ยนไป แนวทางความเจริญเติบโตในหน้าที่การงานมีน้อย เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาส าคัญ อย่างยิ่งต่อการปฏิบัติภารกิจของกองบิน ๒๓ และกองทัพอากาศ ดังนั้น ถ้าหากไม่มีการป้องกันการ ลาออกหรือหาแนวทางให้นักบิน บ.จ.๗ ท าการบินกับเครื่องบินแบบ บ.จ.๗ ต่อไปในอนาคตจะมี ผลกระทบอย่างมากต่อการปฏิบัติภารกิจของกองบิน ๒๓ จึงเป็นเหตุผลที่ท าให้ต้องท าการวิจัยเรื่อง “แนวทางการแก้ปัญหานักบินกองทัพอากาศลาออก กรณีศึกษาฝูงบิน ๒๓๑ กองบิน ๒๓” เพื่อให้ทราบ ถึงแนวทางการแก้ปัญหาไม่ให้นักบินลาออกจากกองทัพอากาศ โดยเฉพาะฝูงบิน ๒๓๑ กองบิน ๒๓ ซึ่งถ้าสามารถหาแนวทางการแก้ปัญหาการลาออกของนักบินได้จะท าให้กองบิน ๒๓ สามารถปฏิบัติภารกิจ ที่ได้รับมอบส าเร็จและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารกองบิน ๒๓ จ านวน ๔ ท่าน รวมทั้งผู้บังคับฝูงบิน ๒๓๑ และนักบินที่ลาออก ดังมีรายนามคือ นาวาอากาศเอก ศรสิต กีรติพล ผู้บังคับการกองบิน ๒๓ นาวาอากาศเอก วรพจน์ เขียวสมบูรณ์ รองผู้บังคับการกองบิน ๒๓ นาวาอากาศเอก ปรารภ อิ่มแสง รองผู้บังคับการกองบิน ๒๓ นาวาอากาศเอก เพิ่มยศ แก้วสว่าง เสนาธิการกองบิน ๒๓ นาวาอากาศโท สิทธิรัตน์ พู่ทรงชัย ผู้บังคับฝูงบิน ๒๓๑ กองบิน ๒๓ และ นาวาอากาศตรี ชาตรี ภิมาลย์นายทหารมาตรฐานการบิน กองบิน ๒๓ รวมทั้งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากเอกสารทางวิชาการ แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูล โดยค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ มาวิเคราะห์ก าหนดแนวทางในการป้องกันการลาออกจากกองทัพอากาศของ นักบิน บ.จ.๗ ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า สาเหตุที่ท าให้นักบิน บ.จ.๗ ลาออกจากกองทัพอากาศเกิดจาก ค่าตอบแทนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับสายการบินเอกชน เบื่อระบบราชการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาก ไม่ชอบท างานด้านเอกสาร ขาดความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน ต้องการท าการบินตลอดไป ครอบครัว หรือคนใกล้ชิดต้องการให้ลาออก ประสบกับค่าครองชีพในปัจจุบันสูงต้องหารายได้เพิ่ม สังคมปัจจุบัน เน้นวัตถุนิยม รวมทั้งระบบสวัสดิการของกองทัพอากาศยังไม่ดีพอ ตลอดจนในการพิจารณาต าแหน่งต่าง ๆ ไม่มีความเป็นธรรมมีการใช้ระบบอุปถัมภ์ จากผลการวิจัยสามารถหาแนวทางป้องกันการลาออกจากกองทัพอากาศของนักบิน บ.จ.๗ โดยการเพิ่มค่าตอบแทนให้นักบินจากเงินเดือนปกติอีกจ านวน ๖๒,๕๐๐ บาท ปรับโครงสร้างระบบการ บริหารขององค์กร ลดขั้นตอนการปฏิบัติ สร้างแรงจูงใจให้กับนักบินในการท างาน เข้าไปมีบทบาทหรือมี ความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวนักบิน และอธิบายถึงคุณค่าความเป็นนักบินกองทัพอากาศ คุณค่าของ ความเป็นนักรบ การเป็นทหารที่มีเกียรติและศักดิ์ศรีส่งเสริมหรือแนะน าให้ประกอบอาชีพเสริม รวมทั้ง เสนอแนะหน่วยเกี่ยวข้องด าเนินการจัดท ากฎระเบียบใหม่ให้นักบินกองทัพอากาศสามารถไปท าการบิน กับสายการบินเอกชนในช่วงเวลาที่เหมาะสมโดยไม่ต้องลาออกจากกองทัพอากาศ ประชาสัมพันธ์การ ปฏิบัติตัวให้อยู่ได้อย่างมีความสุขในสังคมปัจจุบัน เน้นการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง กองทัพอากาศ ควรปรับปรุงระบบสวัสดิการใหม่ให้ดีขึ้น การพิจารณาต าแหน่งให้ใช้ระบบคุณธรรม ตามความรู้ ความสามารถ

abstract:

ABSTRACT Title : Finding Method Resignation of Pilot From Royal Thai Air Force For Case Study Squadron 231 Wing 23 By : Group Captain Sorawan Pomsanam Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Thaworn Samangsri) July 2015 One of The Royal Thai Air Force’s missions is to defend the country. One important factor that helps RTAF to complete the mission is the personnel, especially the pilots. They need to be specialized in their duties. Wing 23, as one of RTAF’s organic units, has alpha Jet aircraft in service under management on personnel, resource, and budget of Squadron 231 in order to complete the missions. According to the problem of the increase of resignation of alpha Jet pilots, RTAF should have methods to decrease the number of resignation of Alpha Jet pilots which can affect the performance of Wing 23 and RTAF in the future. In 2014, Two alpha Jet pilots resigned from RTAF, and the number is increasing due to difference factors such as compensation, changes in pilots’ attitude, and career path, etc. These are crucial problems for operating missions in Wing 23, and RTAF. If there are no proper solutions to avoid the increase of resignation, it will cause disadvantages in performing further missions of Wing 23. The research on ‘The Solution of RTAF Pilot’s Resignation: The Case Study of Squadron 231, Wing 23’ is designed to help preventing the pilots from resigning from RTAF since it will help Squadron 231 to perform missions more efficiently. This research is a qualitative research together with in-depth interviews of four commanding officers including Squadron 231 Commander and resigned pilots; Gp.Capt.Sorrasit Keeratipol, Commander, Wing 23, Gp.Capt.Worrapot Kaewsomboon, Deputy Commander, Wing 23, Gp.Capt.Prarop Imsang, Deputy Commander, Wing 23, Gp.Capt.Permyot Kaewsawang, Chief of Staff, Wing 23, Wg.Cdr.Sittirat Pusongchai, Squadron 231 Commander, Wing 23, and Sqn.Ldr.Chatree Pimarn, Standardization and Evaluation Officer, Wing 23. This also includes secondary data from academic documents, theories, and related research results which researcher collected from different sources and analyzed to set guidelines to prevent resignation of alpha Jet pilots. The results of the study shows that the reasons of alpha pilots’ resignation are low compensation compared to private airlines, weariness of government system, lots of working procedures, problems with paper work, a lack of good relationship with colleagues, demand of flying continuously, families or intimates’ need for resignation, etc. Moreover, the cost of living is increasing and materialism also influences people’s way of life. Insufficient welfare, prejudice promotion, and patronage system are also the main reasons for resignation. According to the results of the study, the guidelines for preventing the resignation of alpha pilots can be apply by increasing the compensation for pilots, adapting organization management system, reducing the working procedures, building motivation for pilots, having a good relationship with pilots’ families, and explaining the value of being RTAF’s pilots, value of being warriors, and soldier’s honor and dignity. Moreover, giving advice on doing part-time jobs as well as introducing new policies that allow the pilots to work for other private airlines without affecting their duties in RTAF are also alternative ways to solve the problems. In addition, introducing the way to make a living by using the philosophy of sufficiency economy is another suggestion. The RTAF should also improve the welfare policy and should consider about promoting personnel based on their knowledge and virtue.