เรื่อง: การศึกษาภาวะวิกฤติและแนวทางการแก้ไขปัญหาวิกฤติ ในกระบวนการผลิตน้ำประปา ของการประปานครหลวง ,Crisis education and solutions to the crisis problems in the water treatment process of MWA.
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สมศักดิ์ ปัสนานนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาภาวะวิกฤติและแนวทางการแก้ไขปัญหาวิกฤติ
ในกระบวนการผลิตน ้าประปา ของการประปานครหลวง
โดย : นายสมศักดิ์ ปัสนานนท์
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุดม งามศักดิ์กุล)
กรกฎาคม ๒๕๕๘
การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากระบวนการผลิตน ้าประปาและปัจจัยที่มีผลกระทบกับ
น ้าประปาของ กปน.,ศึกษาภาวะวิกฤติต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตน ้าประปา และการ
ด้าเนินงาน รวมถึงศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาวิกฤติ ในกระบวนการผลิตน ้าประปา ที่เหมาะสมเพื่อ
ลดผลกระทบต่อ กปน.โดยใช้ข้อมูลและประสบการณ์จากการท้างาน รวมถึงการสัมภาษณ์ผู้มี
ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาวิกฤติต่างๆ
โดยพบว่าระบบผลิตน ้าประปาของ กปน.ทั งหมดเป็นระบบ Conventional Water
Treatment System ซึ่งเป็นระบบพื นฐานที่ได้รับการออกแบบตามหลักวิศวกรรมการประปา ยังมี
ข้อจ้ากัดในการผลิตน ้า หากเกิดภาวะวิกฤติที่รุนแรงขึ น อาจท้าให้ไม่สามารถผลิตน ้าประปาที่ได้
มาตรฐานได้อย่างเนื่อง ซึ่งปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกระบวนการผลิตน ้าประปา และการด้าเนินงาน มี
หลายประการ ซึ่งเป็นภาวะวิกฤติที่เกิดขึ นกับแหล่งน ้าดิบของ กปน. ได้แก่ ภาวะวิกฤติจากปัญหา
อุทกภัย ภาวะวิกฤติจากปัญหาน ้าดิบมีความขุ่นสูง ภาวะวิกฤติจากปัญหาน ้าเค็มปนเปื้อนน ้าดิบ ภาวะ
วิกฤติจากปัญหามีสาหร่ายปนเปื้อนน ้าดิบ และ ภาวะวิกฤติจากปัญหามีสารอินทรีย์ปนเปื้อนน ้าดิบ ท้า
ให้เกิดสาร THMs ซึ่งปัจจุบันพบว่าภาวะวิกฤติดังกล่าวเกิดขึ นโดยมีความรุนแรง และความถี่มากขึ น ท้า
ให้เกิดผลกระทบกับ กปน.ทั งด้าน ปริมาณน ้า คุณภาพน ้า ค่าใช้จ่ายการด้าเนินงาน และภาพลักษณ์ของ
กปน. ท้าให้เกิดผลกระทบต่อผู้ใช้น ้าจ้านวนมาก ทั งด้านสุขภาพอนามัย ความรู้สึก รวมถึงความเสียหาย
จากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งมีผลต่อเนื่องไปถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมโดย
ภาพรวมของประเทศ
การแก้ไขปัญหาวิกฤติต่างๆอย่างเหมาะสมจึงมีความส้าคัญมาก เพื่อให้สามารถลดผลกระทบ
ดังกล่าวให้เกิดน้อยที่สุด โดยภาวะวิกฤติที่เกิดขึ นดังกล่าว มีแนวทางการแก้ไขปัญหาแตกต่างกัน ตาม
สถานการณ์ที่เกิดขึ น แต่มีขั นตอนการปฏิบัติคล้ายกัน คือ การเตรียมการแก้ไขปัญหา การแก้ไขที่แหล่ง
น ้าดิบ การแก้ไขในระบบผลิตน ้า และการขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการเตรียมการแก้ไข
ปัญหา เป็นขั นตอนก่อนเกิดปัญหา เพื่อให้มีความพร้อม เช่น การจัดตั งศูนย์อ้านวยการวิกฤติ และการ
เตรียมการด้านต่างๆ ส่วนการแก้ไขที่แหล่งน ้าดิบ เป็นการบริหารจัดการที่แหล่งน ้าดิบ เช่น การปรับปรุง
คุณภาพน ้าดิบในแหล่งน ้าดิบ การบริหารการสูบน ้าดิบจากแม่น ้าเข้าคลองส่งน ้าดิบเพื่อหลีกเลี่ยงน ้าที่เกิดวิกฤติเข้าสู่ระบบผลิต ส่วนการแก้ไขในระบบผลิตน ้า ส่วนใหญ่เป็นมาตรการในระบบผลิตน ้า เช่น
การเติมสารเคมีในปริมาณมากกว่าปกติทั งชนิดและปริมาณ การควบคุมความขุ่นน ้าที่ผ่านกระบวนการ
ตกตะกอนให้มีความขุ่นต่้า การควบคุมค่าคลอรีนคงเหลือในน ้าขั นตอนต่างๆให้สูงมากกว่าปกติ การลด/
เพิ่มก้าลังการผลิตให้เหมาะสม การล้างย้อนสารกรองที่มากกว่าปกติ รวมถึงเพิ่มการตรวจวิเคราะห์
คุณภาพน ้าเพื่อใช้ประเมินความรุนแรง และก้าหนดมาตรการที่เหมาะสม ส่วนการขอความร่วมมือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาเช่น กรมชลประทาน กรมฝนหลวงและการ
บินเกษตร รวมถึงหน่วยงานต่างประเทศ ที่มีประสบการณ์และความพร้อม
ทั งนี การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ทีมผู้ปฏิบัติต้องมีความเข้าใจปัญหา และต้องใช้หลาย
มาตรการร่วมกันอย่างเหมาะสม เคร่งครัด และต่อเนื่อง รวมถึงมีการเตรียมความพร้อมแก้ปัญหาอย่าง
ต่อเนื่อง จึงจะท้าให้การด้าเนินงานมีประสิทธิภาพสูงได้ABSTRACT
Title : Crisis education and solutions to the crisis problems in water
treatment process of MWA.
By : Mr. Somsak Passananon
Major Field : Science and technology
Research Advisor : Colonel
(Udom Ngamsakkul)
July 2015
The main purpose of this research is to explore water treatment process system
and factors affecting MWA’s tap water. This research also aims to investigate various
crisis incidents that have impacts on the water treatment process, the operation for the
crisis, and appropriate solutions for the crisis in order to reduce and lessen effects that
might occur to MWA. The solutions for the crisis use the data and experiences acquiring
from working together with interviews with the individuals who are experienced in
solving crisis incidents.
The study shows that the water treatment system of MWA is conventional
water treatment type. This is basic system designed according to the waterworks
engineering principles. However, there are limitations in water production. In case that
the crisis is severe, treated water may not be simultaneously up to the standard. There
are many factors affecting water treatment process and operation. These factors are
the crisis related to MWA’s raw water source, for instance, the crisis when the raw
water is contaminated during the flooding period, the crisis when the turbidity of raw
water is high, the crisis when the raw water is contaminated by saltwater, the crisis
when the raw water is contaminated by algae, and the crisis when the raw water is
contaminated by organic matter causing THMs. Currently these crises happen in greater
frequency and with more severity. These crises have great impacts on MWA in terms of
water quantity, water quality, operation cost, and the image of MWA. They also affect
a great number of water users in the area of health, attitude, damaging to business and
industry leading to economic instability of the country and society as a whole.
The appropriate solution to these crises, thus, is considered to be very
important in order to minimize the impact to the minimum level. These crises have
different approaches for solutions depending on each situation. However, the stages of operating procedure are similar. There are four steps for solving the crisis. The first step
is the preparation stage. The second one is solving the problem of raw water sources.
The third one is solving the problem in the water treatment process. The forth and last
procedure is requesting for cooperation from the relevant authorities.
For the first stage, preparation for the solution, this is the preparation stage
before the problem happens. The example of this stage would be the establishment
of the crisis center and preparation in advance for other matters. The second stage is
solving the problem of raw water sources by managing raw water sources such as
improvement of water quality in raw water source and management of pumping raw
water from the river into the raw water canal to avoid poor quality water to get into
the water production system. For the third step of solving the problem in the water
treatment process, most of this stage is dealing with measures related to process in
treating water such as increasing the dosage and the type of chemical added,
controlling low turbidity level of the clarified water, maintaining the level of free
residual chlorine in each water treatment process to be higher than normal situation,
reducing or increasing appropriate production capacity, extra back-washing process,
together with increasing in numbers of water quality analysis in order to assess the
severity of the crisis and to determine appropriate measures. For the last stage of
asking for assistance from relevant authorities, this is to cooperate with others in
solving the crisis such as cooperation with Department of Irrigation, Department of
Royal Rainmaking And Agricultural Aviation, including foreign organizations with
experiences and availability.
For the solution to be effective, the problem-solving team needs to insightly
understand the issue. The team must strictly and continuously apply appropriate and
integrated measures. The team also needs to constantly prepare to solve ongoing
problems. All of these would definitely lead to an effective problem-solving.
abstract:
ไม่มี