เรื่อง: แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ศึกษาเฉพาะกรณีรูปแบบการบริหารจัดการ,The ways to develop Defence Industry : Case study of organisation management
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. กิติเมศวร์ ธนาวิบูลไชยภัทร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ศึกษาเฉพาะกรณีรูปแบบการบริหาร
จัดการ
โดย : พันเอก กิติเมศวร์ ธนาวิบูลไชยภัทร
สาขาวิชา: การทหาร/วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก
( ปิยะ อาจมุงคุณ )
กรกฎาคม ๒๕๕๘
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศถือว่าเป็นงานที่มีความจ าเป็นต่อความมั่นคงของประเทศ และ
ยังอาจน าไปสู่การสร้างความได้เปรียบทางเศรษฐกิจด้วย ส าหรับประเทศไทยถือว่าเป็นผู้ใช้เทคโนโลยี
ป้องกันประเทศ แต่หน่วยผลิตในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นส่วนราชการที่สังกัดอยู่ภายใต้
กระทรวงกลาโหมก็นับได้ว่ามีศักยภาพในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ตอบสนองต่อความต้องการของ
กองทัพซึ่งเป็นผู้ใช้หลักได้ในระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามการด าเนินกิจการอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศของไทยยังขาดความเข้มแข็ง และจ าเป็นต้องได้รับการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนารูปแบบองค์กรที่เหมาะสมส าหรับกิจการอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศ ให้มีความสามารถเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ
ปัจจุบันการด าเนินกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหมใช้การบริหาร
จัดการแบบราชการ (Bureaucratic organization) จึงท าให้เกิดข้อจ ากัดในการบริหารจัดการ เช่น
ข้อจ ากัดจากกฎหรือระเบียบของทางราชการ งบประมาณที่ได้รับในการบริหารจัดการโรงงานที่ไม่
เป็นไปตามแผนงาน เทคโนโลยี การบริหารจัดการด้านบุคลากรที่ต้องการบุคลากรที่เป็นมืออาชีพ มี
ความรู้ความสามารถตรงตามต าแหน่งงาน การขายผลิตภัณฑ์ที่มีการสั่งซื้อจ านวนน้อย และมีข้อจ ากัด
ในการขายไปต่างประเทศ
กการวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ศึกษาเฉพาะกรณีรูปแบบการ
บริหารจัดการ นั้น มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงกลยุทธ์๒) เพื่อ
ศึกษาการด าเนินงานด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม และ ๓) เพื่อเสนอแนะ
การจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เหมาะสมส าหรับงานด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
การศึกษาวิจัยมีข้อค้นพบ ดังนี้ การด าเนินงานด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศยังคงเดิม คือ
แบ่งได้เป็นวัตถุประสงค์หลัก และวัตถุประสงค์รอง โดยวัตถุประสงค์หลัก คือ การตอบสนองความ
ต้องการและสนับสนุนการด าเนินการของกองทัพในการปฏิบัติหน้าที่หลัก (Primary function) ของ
รัฐ ซึ่งคือ การรักษาและส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ ทั้งจากภัยคุกคามภายในและภายนอก โดย
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศมีบทบาทในการสนับสนุนผ่านการผลิตยุทโธปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้
งาน พัฒนายุทโธปกรณ์ให้ทันสมัย เพื่อให้กองทัพสามารถพึ่งพาตัวเองได้ส าหรับกระบวนการผลิตยัง
ใช้เทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ส่วนมากจะเป็นการได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีมาเฉพาะรายการที่ได้รับ
การสั่งซื้อ ไม่สามารถผลิตหรือต่อยอดเทคโนโลยีในการผลิตได้ตลอดจนติดขัดข้อกฎหมายในการ
ด าเนินการด้านการตลาดต่างประเทศ ดังนั้น หากจะพัฒนาการบริหารจัดการอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศ ควรพิจารณาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในองค์กร และภายนอกองค์กร นโยบาย ลักษณะ
การด าเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ จุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส และอุปสรรค เพื่อจะได้ก าหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม ทั้งนี้หากยังด าเนินการในรูปแบบของการ
เป็นส่วนราชการเหมือนในปัจจุบัน ก็อาจเกิดอุปสรรคในด้านของการบริหารงานที่ไม่คล่องตัว ติดขัด
ด้านข้อกฎหมายต่าง ๆ หรือหากจะด าเนินการในรูปของรัฐวิสาหกิจ การบริหารงานยังคงต้องยึดถือ
ระเบียบที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายต่าง ๆ หรือหากจะด าเนินการในรูปแบบของหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้น
ตามกฎหมายเฉพาะ เช่น บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จ ากัด ก็มีข้อจ ากัดที่บุคลากรที่ปฏิบัติงานใน
หน่วยงานภาคเอกชน เนื่องจากส่วนหนึ่งของเงินทุนมาจากการสนับสนุนของภาครัฐซึ่งแตกต่างจาก
ภาคเอกชนที่ต้องด าเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้และผลก าไร ดังนั้น หากจะพัฒนาการบริหารจัดการ
โดยแท้จริงแล้ว ควรน ากลยุทธ์ WO มาใช้ เพื่อปรับปรุงจุดอ่อนภายในขององค์กร ด้วยการฉกฉวย
ประโยชน์จากโอกาสภายนอกองค์กร ซึ่งบางครั้งมีโอกาสภายนอกส าคัญเกิดขึ้น แต่องค์กรมีจุดอ่อน
ภายในที่เป็นอุปสรรคท าให้ไม่สามารถฉกฉวยประโยชน์จากโอกาสภายนอกได้ อันหมายถึงการที่
องค์กรเป็นหน่วยงานภาครัฐ มีการบริหารงานแบบราชการ ท าให้ไม่คล่องตัว มีข้อติดขัดหลาย
ประการ จึงควรใช้โอกาสจากภาคเอกชนที่มีความพร้อมมากกว่า ทั้งในด้านการบริหารงาน บุคลากร
เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาต่อยอด และงบประมาณ เข้ามีส่วนร่วมในการบริหารงานมากขึ้น โดยมีภาครัฐเป็นผู้ควบคุมดูแล ซึ่งจะท าให้การด าเนินงานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ผู้วิจัยได้เสนอ
แนวทางในการน ากลยุทธ์ดังกล่าวมาปฏิบัติ ดังนี้
๑) ปรับปรุงในด้านของการผลิต คือ หากผลิตภัณฑ์หรือวัตถุดิบใด ที่โรงงาน
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหมไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่ตรงตาม
คุณสมบัติที่ผู้ใช้ต้องการ ควรจะสั่งซื้อจากภาคเอกชนภายในประเทศเป็นล าดับแรก แต่หาก
ภาคเอกชนภายในประเทศไม่สามารถผลิตได้ จึงสั่งซื้อจากภาคเอกชนต่างประเทศเป็นล าดับถัดไป
๒) การบริหารจัดการในรูปแบบการให้ภาคเอกชนด าเนินการกิจกรรมบางส่วนแทน
(Outsource)
ซึ่งทั้ง ๒ แนวทางนี้ จะเป็นแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศของกระทรวงกลาโหมที่เหมาะสม
abstract:
Abstract
Title : A suggested approach to develop Defense Industry focusing on
managerial aspects
By : Col. Kitimate Thanawiboonchaipat
Major Field : Military/ Joint Staff College, Cohort 56,
Academic Year 2014
Research Advisor: Capt.
(Piya Artmunkun)
July 2015
Defense industry is necessary for backing national security, and can generate
economic benefits to the country. As an avid user of Defense Technology, Thailand
also has Military Production Units under control by the Ministry of Defense, whose
function is to produce arms for the main users - Thai armed forces. These production
units also have the capability to do research and development for military purpose.
However, Thailand’s Defense Industry is not strong enough, and needs a solid backup
to create continuous development. Especially, the appropriate organizational model is
needed to strengthen the Defense Industry, and subsequently to safeguard national
security.
Currently, the management of MOD’s Defense Industry is in the form of
“Bureaucratic Organization”, which presents hindrance or limitations to administrative
process, such as restrictions imposed by the regulations, delayed budget, ineffective
approach to acquire professional experienced personnel for specific jobs, low product
orders, and the forbidding of foreign arms sales.
This Research paper “A suggested approach to develop Defense Industry,
focusing on managerial aspects” has the following objectives: 1) to study
concepts/theories relating to strategic management, 2) to study how the Defense Industry of MOD is run, and 3) to present strategic management model that helps
administer Defense Industry program.
The finding from this research is as follow: The need to have Defense Industry
in the country is due to two reasons; primary objective and secondary objective. The
primary objective is to support and fulfill the requirements for the armed forces that
are responsible for the country’s primary function; secure and protect the country from
internal and external threats.
Defense Industry’s role is to produce adequate arms and weapons for the
national defense forces, to help enhance defense modernization and enable the
military to be self-sustaining. As for the technology used in manufacturing process, it is
uncomplicated or somewhat outdated. This, in turn, requires a high number of
manpower to work in the plant. Moreover, there is no marketing process for Defense
export like that in private sector due to the existing law that forbids export of arm sale
to foreign countries. However, there is still a high demand of defense
equipment/products from many Thai government agencies, which can also be
supported by private sector. If our concern aims at the improvement of Defense
Industry management, it is important that many related issues must be examined
carefully, such as involved policies, social roles, internal and external factors affecting
Defense Industry agency. If the government opts to run defense industry in the
traditional way, it will certainly encounter several obstacles such as managerial
inflexibility and restrictive laws. If the form of the state enterprise is selected to run the
Industry, the administration must follow government’s rules and regulations. If one
chooses the commerce state to manage state enterprise, employees may lack the
feeling of being owners, unlike those in the private sector. The largest part of funding
comes from the government, which differs from that in private sector (companies must
perform well in order to gain income and profits). As a result, state-run Defense
Industry business cannot be developed as expected.
To develop true management process of the Defense Industry, it might be use
WO Strategies to reduce the weakness of the organization by using the opportunities
from the external instead. It means the bureaucratic organization as MOD that has the
managerial inflexibility and has many problems. So we can bring the public sectors for supporting in management, human resources technologies and budget. Meanwhile the
government sector keeps the control. The researcher suggests the ways to develop
Defense Industry on managerial aspect as follows: 1) improve manufacturing: The first
priority states that Defense product(s) that cannot be made by the MOD, or fails to
meet customer standard/expectation, should be bought from in-country Thai
companies (private sector). If the private sector cannot provide said demand, the
military can buy military products from foreign companies. 2) Outsource: This approach
is carried out by having private sector manage part of the works/activities.
These two approaches should be sufficient for the effective management of
MOD’s Defense industry.
.