Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดทำสายวิทยาการและมาตรฐานตำแหน่งสายงานกำลังพล กองบัญชาการกองทัพไทย ,The Study of Standard Setting of the Position in the Personel Department of the Royal Thai Armed Forces Headquarters

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง : แนวทางการจัดท าสายวิทยาการและมาตรฐานต าแหน่ง สายงานก าลังพล กองบัญชาการ กองทัพไทย โดย : นาวาอากาศเอก ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์ สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (คมศกัดิ์เจียมวฒั นาเลิศ ) กรกฎาคม ๒๕๕๘ การวิจัยเรื่องแนวทางการจัดท าสายวิทยาการและมาตรฐานต าแหน่ง สายงานก าลังพล กองบัญชาการกองทัพไทย มีวัตถุประสงค์ ๑)เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการก าหนด มาตรฐานต าแหน่งงาน ๒) เพื่อศึกษาวิธีการก าหนด มาตรฐานต าแหน่งก าลังพล สายวิทยาการ ก าลังพลกองบัญชาการ กองทัพไทย ๓) เพื่อก าหนดแนวทางปฏิบัติการก าหนดมาตรฐานต าแหน่ง ก าลังพลสายวิทยาการก าลังพล กองบัญชาการกองทัพไทย ขอบเขตของการวิจัยจะท าการศึกษา เฉพาะผู้ที่ปฏิบัติงานในสายงานก าลังพล ในกรมก าลังพลทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย โดยใช้ การศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานภาคเอกชน ข้อมูลการบริหารก าลัง พลของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และการรวบรวมข้อมูลจากผลการสัมมนาความ คิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อน ามาสังเคราะห์เพื่อน าเสนอแนวทางที่เหมาะสมที่สุด ในการก าหนด มาตรฐานก าลังพลของกองบัญชาการกองทัพไทย ประโยชน์ของการวิจัย ท าให้ทราบถึงแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการก าหนดมาตรฐาน ต าแหน่งงานและวิธีก าหนดมาตรฐานต าแหน่งของหน่วยงานต่างๆข้างต้น ซึ่งจะสามารถน าไปเป็ น แนวทางปฏิบัติในการก าหนดมาตรฐานต าแหน่งก าลังพล สายวิทยาการก าลังพล กองบัญชาการ กองทัพไทยได้ และสามารถใช้เป็ นตัวอย่างให้สายวิทยาการอื่น สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทยใช้ เป็ นแนวทางปฏิบัติในการก าหนดมาตรฐานของสายวิทยาการตนเองได้ผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ที่ได้ คือส่วนราชการของกองบัญชาการกองทัพไทยมีการก าหนด หน้าที่ประจ าต าแหน่งหรือการก าหนดมาตรฐานต าแหน่งไม่เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งอาจจะ ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการก าลังพล โดยเฉพาะแนวทางการรับราชการ และเส้นทาง ความก้าวหน้าในอาชีพในอนาคต จากการส ารวจเอกสารการด าเนินงานต่างๆแล้วพบว่ามาตรฐาน ก าหนดต าแหน่งของสายงานก าลังพล กองบัญชาการกองทัพไทย มีองค์ประกอบหลักที่ต้อง พิจารณา ได้แก่ ความรู้ คุณลักษณะ และทักษะที่จ าเป็ นส าหรับการปฏิบัติงานในสายงาน ก าลังพล นอกจากนี ้ควรก าหนดประสบการณ์การท างานในสายงานก าลังพลให้มีความชัดเจน เพื่อ เป็ นแบบอย่างการจัดท ามาตรฐานก าลังพลให้หน่วยงานอื่นในกองบัญชาการกองทัพไทย ได้ใช้ เป็ นแบบอย่างในการจัดท ามาตรฐานก าลังพลในสายงานตนเองต่อไป ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย พบว่าการศึกษาวิจัยครั ้งต่อไปที่เกี่ยวข้องกับการ จัดท า สายวิทยาการและมาตรฐานต าแหน่ง หรือด้านการบริหารก าลังพล ควรพิจารณาในเรื่องของการ ปรับเปลี่ยนภารกิจของกองทัพไปสู่การต่อต้านภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ การรวมตัวของประชาคม อาเซียน รวมทั ้งการได้รับยุทธโธปกรณ์ใหม่ๆ ที่มีความต้องการใช้ก าลังพลจ านวนมาก มาเป็ นใช้ ก าลังพลน้อยแต่มีทักษะรอบด้าน ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการจัดมาตรฐานต าแหน่งก าลังพล และ การเติบโตในสายงานของก าลังพลเหล่านี ้ด้วย

abstract:

ABSTRACT Title : The Study of Standard Setting of the Position in the Personel Department of the Royal Thai Armed Forces Headquarters By : Group Captain Nattapat Ruaengmaneeya Major Field : Military Research Advisor : Colonel ( Komsak Jiamwatthanaloet) July 2015 The objectives of this research regarding technical expertise and standard for manpower are1)To study theories and ways for standardizing positions within manpower management 2) To study methodologies suitable for standard manpower management within the personel department of The Royal Thai Armed Forces Headquarters,3) To study and find ways to properly define peactical standards for manpower management. The scope of this study is to conduct document research and interview those within the personel Department with The Royal Thai Armed Forces Headquarters,also within Royal Thai Army,Navy and Airforces including experts opinions.The resulted will be analyzed,then,best results will be utilized to drive standards and best practices for The personel Department,RTARF HQs.also,used as examples for other units.The goal is to develop standards and practices regarding the manpower management which suitable and customized for each task and position; not judged by the same general standards,which could be not as much effective and not accurate From researching and analyzing documents involving the matters,it is found that there are many factors for considerations,which are knowledge or education qualifications,qualified characters,and neccessary,skills.other than those mentioned, there should also be added experiences qualifications for considerations.The measurements should be clear,effective,accurate in order to be the standards for the RTARF HQS and,as examples for others The proposal for further research regarding this matters is to consider other environmental factors such as non-traditioned threats,new high – tech equipments / weapons,or,ASEAN integration;all of which may require less number of manpower,but with more skills,expertise,knowledge.This will surely effect standards and management for manpower in the future.