เรื่อง: การศึกษาวิเคราะห์การขัดกันแห่งผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 ,The Analysis Study fo Conflict of interest Thailand 's official according to ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION, B.E. 2542
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ไชยยันต์ ลิ้มกาญจนาพันธุ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาวิเคราะห์การขดั กนั แห่งผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ของรฐัตาม
พระราชบญั ญตัิประกอบรฐัธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. 2542
(The Analysis Study of Conflict of interest Thailand’ official
according to ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION, B.E.2542)
โดย : นายไชยยนั ต์ ลิ้มกาญจนาพนั ธุ์
สาขาวิชา : กฎหมาย
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจยั : พันเอก
(ทกัษิณ สิริสิงห)
มิถนุ ายน 2558
การวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์การขัดกันแห่งผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. 2542” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักเกณฑ์ในเรื่องเกี่ยวกับการขัดกัน
แห่งผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งนี้ เพื่อศึกษาแนวทางการบังคับใช้กฎหมายการขัดกัน
แห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) โดยเป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบวิจัยเอกสาร (Documentary Research)
ผลการวิจัยพบว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 มาตรา 100 (1) ถึง
(4) ซึ่งเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
(Conflict of interest) มีมาตรฐานตามหลักสากลอยู่แล้ว หากแต่การแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัป
ชันที่เป็น การขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of
interest) จะประสบผลส าเร็จได้จ าเป็นต้องก าหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้มีอ านาจตาม
กฎหมายต่าง ๆ ในการปฏิบัติราชการเพื่อให้งานราชการส าเร็จลุล่วงตามที่
กฎหมายต่าง ๆ ก าหนดไว้ เข้ามาอยู่ภายใต้บังคับของบทบัญญัติดังกล่าวให้มากที่สุด
เนื่องจากเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกต าแหน่งในระบบราชการล้วนเป็นปัจเจกชนคนหนึ่งในสังคม ท า
ให้เกิดการสวมหมวกสองใบ ใบแรกคือสถานะ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลประโยชน์ของส่วนรวมหรือของชาติเป็นจุดมุ่งหมาย ใบที่สองคือสถานะเป็นบุคคลธรรมดา
ซึ่งมีผลประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นจุดมุ่งหมาย สภาวะอันจะเป็นการขัดกัน แห่ง
ผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) ย่อมสามารถเกิดขึ้นได้
ทุกเมื่อ ดังนั้น จ าเป็นต้องก าหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทุกต าแหน่งมีกรอบในการแบ่งแยก
ผลประโยชน์ส่วนบุคคลออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งได้แก่ พระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2554 มาตรา 100 (1) ถึง (4) นั่นเอง การที่ปัจจุบันคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีการก าหนดต าแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ภายใต้กฎหมาย
ดังกล่าวไว้เพียง 4 ต าแหน่งเท่านั้น จึงยังไม่ครอบคลุมต่อตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีอ านาจในการ
ที่อาจจะไปกระท าการอันเป็น การขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม
(Conflict of interest) ซึ่งการก าหนดต าแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐเพิ่มเติมนั้นคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสามารถกระท าได้โดยออกเป็นประกาศลงในราชกิจจา
นุเบกษา โดยอาจจะให้มีผลบังคับใช้หลังจาก มีการประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้วเป็นเวลา
6 เดือน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีการท าความเข้าใจมาตรา 100 (1) ถึง (4) และปรับตัวให้อยู่
ในกรอบกติกาของกฎหมายดังกล่าว
ส่วนแนวทางในการปฏิบัติตามมาตรา 100 (1) ถึง (4) นั้น เจ้าหน้าที่ของรัฐคงต้อง
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเข้ามาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ กล่าวคือ ต้องตรวจสอบตัวเอง คู่สมรส
และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องไม่กระท าการอันต้องห้ามตามมาตรา 100 (1) ถึง (4) เมื่อ
เข้ามาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วต้องไม่กระท าการอันต้องห้ามตามมาตรา 100 (1) ถึง (4)
เช่นกัน จวบจนกระทั่งวันที่พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้ว ยังต้องไม่
กระท าการอันต้องห้ามตาม มาตรา 100 (1) ถึง (4) ต่อไปอีกเป็นเวลาสองปีนับ
แต่ได้พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในต าแหน่งนั้น ๆ ด้วย
นอกจากนั้นคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติควรเพิ่มความ
เข้มข้น ในการสร้างความตระหนักรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนในประเทศไทยเกี่ยวกับ
การกระท าอันเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of
interest) เพื่อน าประเทศไทยไปสู่สังคมอันปลอดจากการทุจริตในท้ายที่สุด
abstract:
ABSTRACT
Title : The Analysis Study of Conflict of interest Thailand’ official
according to ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION, B.E.2542
By : Mr. Chaiyan Limkanjanapan
Field : Law
Research Advisor : Colonel
(Taksin Sirisingha)
June 2015
The objective of this research was to study about the effect of Conflict of
interest Thailand’ official according to ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION,
B.E.2542 The aims is to study concept theory and Guidelines Conflict of interest,
Therefor to study the guidelines for law enforcement of the Conflict of interest.
This study was conducted by using a qualitative method with the Documentary
Research.
The findings indicated that The ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION,
B.E.2542 section 100 (1) to (4) which are the provision of Conflict of interest already
have the international standard, but the Conflict of interest between private interest
and public interest can be success to solve the problem require to set public
officials to under the provision of Conflict of interest as much as possible because
public officials are all the individuals in a society that make them have two hats
one is public officials who have the public interest or nation interest for the job and
two is individual who have private interest in the end. It would be contrary to state
of private interests and the public interest. So Public officials have determined that
all positions are eliminated in the division of private interests and the public interest
under The ORGANIC ACT ON COUNTER CORRUPTION, B.E.2542 section 100 (1) to (4).
Now the NACC who are positioned public officials under such law only 4 positions. It also does not cover against public officials who have the power of the will to act
unpredictably Conflict of interest between private and public interests. The
placement of additional public officials, NACC can only be done by a notification in
the Gazette. It may be the effect after. has announced the publication for a period of
6 months for The Public officials are understood to Section 100 (1) to (4) and adjust
to the rules of law.
The guidelines in compliance with Section 100 (1) to (4) is Public officials
continue to prepare before going to the authorities. To check for themself, spouse
and children who are minors. To not commit acts prohibited by Article 100 (1) to (4).
Upon coming to Public officials must not act prohibited by section 100 (1) to (4) as
well. Until the date of ceasing to be a Public officials, then. they must not commit
acts prohibited by Article 100 (1) to (4) for the next two years after ceasing to be a
Public officials. In that position.
In addition, NACC should be more concentrated To raise awareness of the
Public officials and the public in on the action as a personal conflict of interest and
the public interest. To return Thailand to a society free from corruption, in the end.