Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยชุมชน ตามนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของ คสช.,Guideline for Energy producing from community waste according to solid and hazardous waste management policy of the NCPO

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย จารุเกียรติ ปัญญาดี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยชุมชน ตามนโยบายการจัดการขยะมูล ฝอยและของเสียอันตราย ของ คสช. โดย : นาย จารุเกียรติ ปัญญาดี สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อัฏฐวัฒน์ กิตติพลดีงาม) กรกฎาคม ๒๕๕๘ การศึกษาวิจัยแนวทางการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยชุมชนตามนโยบายการจัดการ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ของ คสช.เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการผลิตพลังงานตาม Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของคสช. เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ จากการวิจัย พบว่า แนวทางในการดําเนินงานสําหรับขยะเก่าที่ค้าง สะสมให้ทําการฟื้นฟูสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเดิมเพื่อจัดการขยะมูลฝอยเก่าและรองรับขยะมูลฝอย ใหม่มีทางเลือกดังนี้ ๑. ปิดสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยหรือปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเดิมให้ ดําเนินการได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ๒. กําจัดในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของเอกชน หรือ ใช้ เป็นเชื้อเพลิงทดแทนโดยตรงให้กับโรงงานของเอกชนที่มีอยู่เดิม หรือผลิตเป็นแท่งเชื้อเพลิง (RDF) ๓.กรณีสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเป็นของเอกชนและดําเนินงานไม่ถูกต้องให้บังคับใช้กฎหมายให้ ดําเนินการอย่างถูกต้อง ส่วนแนวทางในการดําเนินงานสําหรับขยะมูลฝอยชุมชนใหม่ ให้สร้าง รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม เน้นการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ตั้งแต่ต้นทาง การจัดการขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม และการกําจัดโดยเทคโนโลยีแบบผสมผสานเน้น การแปรรูปเป็นพลังงาน หรือทําให้เกิดประโยชน์สูงสุด การพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสานเน้นการแปรรูปเป็นพลังงานต้องพิจารณาปัจจัย ต่างที่เกี่ยวข้องด้วยเช่น ปริมาณและลักษณะมูลฝอย (องค์ประกอบของมูลฝอย/ความชื้น) ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ก่อสร้างระบบจัดการ การดําเนินการและบํารุงความคุ้มค่าในการผลิตพลังงาน และความสามารถในการบริหาร จัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข เทคโนโลยีที่เหมาะสมสําหรับปริมาณขยะตั้งแต่ ๗๐๐ ตันต่อวันขึ้นไป, ๓๐๐ – ๗๐๐ ตัน ต่อวัน , ๑๐๐ – ๓๐๐ ตันต่อวัน , ๕๐ – ๑๐๐ ตันต่อวัน,๑๕ – ๕๐ ตันต่อวัน และน้อยกว่า ๑๕ ตัน ต่อวัน ได้แก่ เตาเผาผลิตพลังงานและฝังกลบ, เตาเผาผลิตพลังงานและฝังกลบ, หมักก๊าซและฝัง กลบ, หมักปุ๋ยและฝังกลบ หรือหมักก๊าซและฝังกลบ หรือเชื้อเพลิงขยะ RDFและฝังกลบ , หมักปุ๋ย และฝังกลบ หรือ เชื้อเพลิงขยะ RDF และฝังกลบ และการฝังกลบทั้งหมด ตามลําดับ ค ABSTRACT Title : Guideline for Energy Producing from Community Waste according to Solid and Hazardous Waste Management Policy of the NCPO By : Jarukiat Punyadee Major Field : Science and Technology Research Advisor : Group Captain (Athawat Kitipoldengam) July 2015 Guideline for Energy Producing from Community Waste according to Solid and Hazardous Waste Management Policy of the NCPO is a qualitative research, utilizing data about energy producing technology according to NCPO’s Solid and Hazardous Waste Management Policy issued on 26 August 2014. From this research, it is found that guidelines for waste management by managing an residual waste in order to receive new waste are, first, to close the waste disposal site or to improve the waste disposal site according to the regulations. Second, to manage waste at private waste disposal site or to use this waste as energy source for private factories or to produce a refuse derived fuel (RDF). Third, in case of private waste disposal site which is not complied with the regulations, enforcement must be applied. For New communities waste management’s guideline is to setup proper solid and hazardous waste management which emphasize on waste reduction and segregation, centralized waste management and integrated waste management technologies which focus on producing energy or to get the most out of this waste. To select an integrated waste management technologies which focus on producing energy has to consider the following factors such as ง amount and type of waste (compositions and humidity), cost for waste management system construction, operation and maintenance cost, worthiness in producing energy and management’s ability of Local Administrative Organization. Appropriate technologies for waste more than 700 tons per day are incineration and land fill. For waste from 300-700 tons per day are incineration and land fill. For waste from 100-300 tons per day are anaerobic digestion and land fill. For waste from 50-100 tons per day are composting and land fill or anaerobic digestion and land fill or RDF and landfill. For waste from 15-50 tons per day are anaerobic digestion and land fill or RDF and landfill. For waste is less than 15 tons per day is landfill. จ คํานํา งานวิจัยฉบับนี้มีมูลเหตุจูงใจให้ผู้วิจัยดําเนินการ อันเนื่องมาจากวิกฤติสถานการณ์ขยะ มูลฝอยในปัจจุบัน ซึ่งจะพบเห็นว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหลายพื้นที่ประสบปัญหาในเรื่อง การบริหารจัดการขยะ อาทิเช่น มีการกําจัดขยะที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล บ่อฝังกลบขยะบางแห่งไม่ สามารถที่จะรองรับขยะที่จะนําไปฝังกลบได้อีก ทําให้เกิดขยะมูลฝอยตกค้างเป็นภูเขาขยะ ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ประกอบกับรัฐบาล คสช.ได้กําหนดให้ปัญหาขยะเป็นวาระ แห่งชาติที่จะต้องเร่งดําเนินการแก้ไข โดยได้ให้ความเห็นชอบ Road Map การจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ เอกสารวิจัยฉบับนี้ผู้วิจัยได้เรียบเรียงขึ้น โดยอาศัยการศึกษาค้นคว้าจากตําราทาง วิชาการระเบียบ คําสั่งของทางราชการ วิทยานิพนธ์เอกสารวิจัยส่วนบุคคล รวมตลอดถึงคําแนะนํา จากผู้ทรงคุณ วุฒิหลายท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้รับความเมตตาและอนุเคราะห์จาก นาวาอากาศเอกอัฏฐวัฒน์กิตติพลดีงาม อาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งได้กรุณาให้แนวทางและให้คําแนะนํา เป็นผลให้เอกสารวิจัยฉบับนี้สําเร็จลงตามความมุ่งหมาย ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญพิศมัย เสถียรยา￾นนท์ดร.ไชโย จุ้ยประเสริฐ และคุณวรวิทย์เลิศบุศราคาม ที่สละเวลาให้ข้อมูลการสัมภาษณ์ที่เป็น ประโยชน์ขอขอบคุณคุณวุทธิชัย แก้วกระจ่าง ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีการจัดการ ขยะของกรมควบคุมมลพิษ ขอขอบคุณคณะกรรมการสอบทุกท่าน และขอขอบคุณวิทยาลัยเสนาธิ การทหาร ที่ทําให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสในการทําวิจัยฉบับนี้จนสําเร็จลุล่วง ( จารุเกียรติ ปัญญาดี ) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๕๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ฉ สารบัญ หน้า บทคดยั ่อ ก Abstract ค คํานาํ จ สารบญั ฉ สารบญตาราง ั ซ สารบญแผนภาพ ั ฒ บทที่ ๑ บทนํา ความสําคัญและความเป็นมาของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓ ขอบเขตการวิจัย ๓ ระเบียบวิธีวิจัย ๔ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๔ นิยามศัพท์ ๕ บทที่ ๒ สถานการณ์ขยะมูลฝอย แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพลังงานจาก ขยะชุมชน สถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชน ๗ เทคโนโลยีทางความร้อน ๒๑ เทคโนโลยีชีวภาพ ๒๗ เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะมูลฝอย ๓๖ กรณีศึกษา การจัดการขยะมูลฝอยของต่างประเทศ ๔๑ กรณีศึกษา การจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔๗ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๖๓ กรอบแนวคิดในการวิจัย ๗๙ ช สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ ๓ นโยบายการบริหารจดการขยะม ั ูลฝอยและของเสียอนตรายของคสช ั . คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ๘๐ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายฉบับผ่านความเห็นชอบ ๘๑ จาก คสช. บทที่ ๔ แนวทางการผลตพล ิ งงานจากขยะม ั ูลฝอยชุมชนตามนโยบายการจดการ ั ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของ คสช. การวิเคราะห์สถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชน แนวคิด ทฤษฎการผล ี ิตพลังงาน ๘๘ จากขยะ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสมภาษณ ั ์ ๙๔ แนวทางการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยชมชนตามนโยบายการจ ุ ดการ ั ๙๙ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของ คสช. บทที่ ๕ สรปและข ุ ้อเสนอแนะ สรุปการทําวิจัย ๑๐๑ สรุปผลที่ได้จากการวิจัย ๑๐๑ ข้อเสนอแนะ ๑๐๓ บรรณานกรม ุ ๑๐๕ ภาคผนวก ผนวก ก บทสมภาษณ ั ์คุณพิสมัย เสถียรยานนท์ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทน ๑๐๘ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ผนวก ข บทสมภาษณ ั ์ดร.ไชโย จุ้ยประเสรฐิ นักวิชาการชํานาญการสิ่งแวดล้อม ๑๑๓ ชํานาญการพิเศษ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผนวก ค บทสมภาษณ ั ์นายวรวิทย์ เลิศบศราคาม ุ รองผู้จดการใหญ ั ่ ๑๑๙ บริษัท ทีพีไอโพลีน จํากัด (มหาชน) ประวตัิย่อผู้วิจัย ๑๒๖ ซ สารบัญตาราง ตารางท ี่ หนา้ ๒.๑ สรุปค่าเฉลี่ยอัตราการเกิดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๐ ที่ดําเนินการสํารวจของเทศบาลนคร แยกตามรายภูมิภาค ๒.๒ แสดงค่าใช้จ่ายในการเก็บขนขยะมูลฝอยของเทศบาลเป็นรายภาค ๑๕ ๒.๓ แสดงสรปคุ ่าใช้จ่ายในการกําจัดขยะมูลฝอยวิธีการต่างๆ เป็นรายภาค ๑๕ ๒.๔ สรุปปริมาณขยะที่ใช้ผลตพล ิ ังงานแล้วและการประมาณการปริมาณขยะ ๑๖ ที่มีศักยภาพในการนํามาผลตพล ิ ังงานเป็นรายภาค ๒.๕ สถานที่กาจํ ัดขยะมูลฝอยแบบถูกต้อง ปี๒๕๕๗ ๑๙ 2.๖ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีเตาเผา ๒๒ 2.๗ ประสิทธิภาพรวมของโรงเผามูลฝอยในการผลิตพลังงาน ๒๓ 2.๘ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีไพโรไลซิส/ก๊าซซฟิิเคชั่น ๒๕ ๒.๙ ประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น ๒๖ ร่วมกับระบบผลิต 2.๑๐ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน ๒๘ 2.๑๑ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีการย่อยสลายแบบใช้ออกซิเจน ๒๙ 2.๑๒ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจาก ๓๐ หลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ๒.๑๓ จุดแข็งและข้อจํากัดของเทคโนโลยีการผลิตขยะเชื้อเพลิง ๓๗ ๒.๑๔ เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกเทคโนโลยีสําหรับการแปรรูปขยะมูลฝอย ๓๘ ให้เป็นพลังงาน ๒.๑5 องค์ประกอบของมูลฝอยรวมตลาดไท ๗๒ ๒.๑๖ มาตรการสนับสนุนการผลิตพลังงานทดแทนสนับสนุนส่วนเพิ่ม ๗๖ ราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder Cost) ๒.๑๗ แสดงอัตรารับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FIT กลุ่มพลังงานชีวภาพที่ ๗๘ ประกาศใช้ปี๒๕๕๘ ๓.๑ แสดงเป้าหมายในการดําเนินการขั้นตอนที่ ๑ การกาจํ ัดขยะมูลฝอย ๘๒ ตกค้างสะสมในสถานที่กําจดขยะม ั ูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเกา่ ) ๓.๒ แสดงพื้นที่เป้าหมายขั้นตอนที่๒ การสร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย ๘๔ และของเสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) ฌ สารบัญรปภาพ ู รปภาพท ู ี่ หน้า ๒.๑ สถานการณขยะม ์ ูลฝอยโดยรวม ปี๒๕๕๖ ๘ ๒.๒ แผนภาพการไหลของขยะมูลฝอย ปี๒๕๕๖ ๘ ๒.๓ ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ปี๒๕๕๖ ๙ ๒.๔ องค์ประกอบขยะมูลฝอยของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขนาดต่างๆ ๑๒ ของภาคเหนือ ๒.๕ องค์ประกอบขยะมูลฝอยของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขนาดต่างๆ ๑๒ ของภาคกลาง ๒.๖ องค์ประกอบขยะมูลฝอยของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขนาดต่างๆ ๑๓ ของภาคตะวันออก ๒.๗ องค์ประกอบขยะมูลฝอยของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขนาดต่างๆ ๑๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒.๘ องค์ประกอบขยะมูลฝอยของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขนาดต่างๆ ๑๔ ของภาคใต้ ๒.๙ ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขนึ้ การนําไปใช้ประโยชน์และได้รับการกําจัด ๑๘ อย่างถูกต้อง ในปี๒๕๕๑ – ๒๕๕๗ ๒.๑๐ แผนภาพการไหลของขยะมูลฝอยชุมชน ปี๒๕๕๗ ๑๘ ๒.๑๑ สัดส่วนการนําขยะมูลฝอยชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์ปี 2557 ๒๐ ๒.๑๒ การกําจัดขยะมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีทางความร้อน ๒๒ ๒.๑๓ ระบบผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีเตาเผามูลฝอย ๒๔ ๒.๑๔ ระบบผลิตพลังงานจากมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซิส/ก๊าซซฟิิเคชั่น ๒๖ ๒.๑๕ ระบบผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีการย่อยสลาย ๒๘ แบบไม่ใช้ออกซิเจน ๒.๑๖ ระบบผลิตพลังงานจากมูลฝอยด้วยเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ ๓๑ จากหลุมฝังกลบ ๒.๑๗ หลักการดําเนินงานของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากก๊าซชีวภาพ ๓๒ จากการฝังกลบขยะมูลฝอยแบบถูกหลักสขาภ ุ ิบาล ๒.๑๘ ตัวอย่างการดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอยในหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ๓๒ แบบถูกหลักสุขาภิบาล ๒.๑๙ กระบวนการผลิตขยะเชื้อเพลิง ๓๗ ญ สารบัญรปภาพ ู (ต่อ) รปภาพท ู ี่ หนา้ ๒.๒๐ ขั้นตอนการกําจัดขยะใน ๒๓ เขต ของกรุงโตเกียว ๔๔ ๒.๒๑ ปริมาณมูลฝอยที่เก็บขนได้ประจาปี 2547-2557 ของ กทม. ๔๘ ๒.๒๒ การกําจัดขยะมูลฝอยของ กรุงเทพมหานครปี๒๕๕๗ ๔๘ ๒.๒๓ แผนก่อสร้างโรงงานหมักปุ๋ยอินทรีย์(Composting) ๕๐ ๒.๒๔ แผนก่อสร้างระบบเทคโนโลยีเชิงกลชีวภาพ ๕๐ ๒.๒๕ ภาพรวมของการจัดการขยะมูลฝอย จังหวัดภูเก็ต ๕๓ ๒.๒๖ หลักการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครพิษณโลก ุ ๕๕ ๒.๒๗ หลักการทํางานของเทคโนโลยีทางกล-ชีวภาพ ๕๗ ๒.๒๘ ผังการจดการขยะม ั ูลฝอยของเทศบาลเมืองวารินชําราบ ๕๘ ๒.๒๙ ภาพรวมการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครระยอง ๕๙ ๒.๓๐ เครื่องจักรและอุปกรณ์หลักของระบบกําจัดขยะมูลฝอยเทศบาลนครระยอง ๖๐ ๒.๓๑ กระบวนการคัดแยกขยะทิ้งรวมของเทศบาลนครระยอง ๖๑ ๒.๓๒ วิธีผสมผสานทางเลือกที่ 1 การคัดแยกขายร่วมกบการฝ ั ังกลบ ๖๕ ๒.๓๓ วิธีผสมผสานทางเลือกที่ 2 การคัดแยกขาย การหมักปุ๋ย ร่วมกับการฝังกลบ ๖๖ ๒.๓๔ วิธีผสมผสานทางเลือกที่ 3 การคัดแยกขาย การเผาในเตาเผา รวมก ่ ับ ๖๖ การฝังกลบ ๒.๓๕ แนวทางการจัดการขยะแบบผสมผสานในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลในเมือง ๖๗ กรณีที่มีเทคโนโลยีกําจัดขยะโดยวิธีการแปลงเป็นพลังงาน ๒.๓๖ แผนพฒนาพล ั ังงานทดแทน ๑๐ ป (ี๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) ๗๖ ๒.๓๐ แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ๗๙ ๔.๑ รูปแบบกรณีตลาดรับซื้ออยู่ใกล้พื้นที่ดําเนินการ ๙๕ ๔.๒ รูปแบบกรณีตลาดรับซื้ออยู่ไกลพื้นที่ดําเนินการ ๙๕

abstract:

ไม่มี