เรื่อง: การศึกษาแนวทางการปฏิบัติการของกองกำลังรักษาสันติภาพของกองทัพบก,Educational practices of peacekeeping troops of the thai army
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. วีรินทร์ จิตร์บำรุง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2555
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาแนวทางการปฏิบัติการของกองกำลังรักษาสันติภาพของกองทัพบก
โดย : พ.อ. วีรินทร์ จิตร์บำรุง
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( เอนก สุขวิจัย )
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
.
กองทัพบกได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปปฏิบัติงานในกองกำลังรักษาสันติภาพ ในฐานะผู้สังเกตการณ์
ในกองกำลังรักษาสันติภาพชายแดนอิรัก–คูเวต และได้ส่งกองกำลังในลักษณะเป็นหน่วยเข้าร่วม
ปฏิบัติงานในนามของสหประชาชาติครั้งแรกกับกองกำลังสหประชาชาติ เพื่อการถ่ายโอนอำนาจใน
กัมพูชา ซึ่งในครั้งนั้นได้มีการศึกษาถึงบทเรียนรวมถึงปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ เช่น ด้านการส่งกำลัง
บำรุง, การขาดความรู้และประสบการณ์ในการเข้าร่วมการปฏิบัติการกับองค์การสหประชาชาติจนถึง
ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรี( สมัย พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ) มีมติให้กองทัพบก
จัดกำลัง ๑ พัน.ร.ผสม กำลังพลจำนวน ๘๐๐ นาย สนับสนุนให้แก่ปฏิบัติการผสมสหประชาชาติ
สหภาพแอฟริกาในดาร์ฟูร์ เข้าปฏิบัติภารกิจรับผิดชอบพื้นปฏิบัติการเมือง Mukjar ของ
กองบัญชาการภาคตะวันตกโดยใช้นามหน่วยว่า “กองกำลังเฉพาะกิจ ๙๘๐ ไทย/ดาร์ฟูร์”
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาการจัดหน่วยมาตรฐาน ภารกิจในการปฏิบัติการการรักษา
สันติภาพของกองทัพบกในอดีต นำไปบูรณาการการจัดหน่วยให้เหมาะสมกับภารกิจของกองทัพบกที่
ไปปฏิบัติภารกิจการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาแนวทางการปฏิบัติการของกองกำลังรักษาสันติภาพของ
กองทัพบก” ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณ ภาพ (Qualitative Research) แบบวิจัยเอกสาร
(Documentary Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากหน่วยงาน/กำลัง
พลที่เคยปฏิบัติหน้าที่ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary data) คือข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และสัมภาษณ์เชิงลึก รวมทั้งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) นอกจากนี้โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจาก
เอกสารทางวิชาการ แนวคิดทฤษฎี จากผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลโดยค้นคว้า
จากแหล่งต่างๆ ได้แก่ ห้องสมุด วสท.ฯ ห้องสมุด สปท.ฯ รวมทั้งเว็ปไซต์ต่างๆ การปฏิบัติการรักษา
สันติภาพ แบ งออกเป น ๕ มาตรการ คือ การทูตเชิงป องกัน การดํารงไว ซึ่งสันติภาพ การ
รักษาสันติภาพ การบังคับเพื่อให้เกิดสันติภาพ และการสร้างสันติภาพทั้งนี้ เพื่อให สอดคล อง
ตรงกันสหประชาติที่ใช เป นตัวแบบ ในการกําหนดระดับการแก ไขป ญหาความขัดแย
งเพื่อให เกิดความเด นชัด และเข าใจในสถานการณ ที่เกิดมากขึ้นนอกจากการยึดหลักการ
พื้นฐานทั้ง ๕ ประการประกอบด วย การไม เข าข างฝ ายใด, ความโปร งใส, การพึ่งพา
การเจรจา, การควบคุมการใช กําลังและความเชื่อถือได แล วยังควรเพิ่มอีก ๑ หลักการ คือ
หลักกฎหมาย
--------------------------------------ABSTRACT
Title : Educational practices of peacekeeping troops of The Thai army
by : Col. virin jitbamrung
Major Field : military
Research Advisor : Group Captain
( Anek Sukwilai )
August 2014
Army officers to serve in a peacekeeping force. As an observer in the peacekeeping forces in Iraq - Kuwait. And have made the nature of the act on behalf of
theUN. First, with UN forces The transfer of power in Cambodia. Which at that
timehad to study the lessons of problems including various aspects of logistics, lack
of knowledge and experience to join the United Nations until 2550 cabinet
(thegenerals. Tue. Surayud Chulanont as Prime Minister) approved the Army's order
is 1 thousand. Assoc. mixture of 800 troops to support the UN compound. African
Union in Darfur He is responsible for the mission's headquarters Mukjar the city west
to the unit said Task Force 980 Thailand / DarfurThe research in this study the standard unit. Peacekeeping mission in the
Army in the past. To integrate the unit to fit the Army's mission to the UN
peacekeeping mission. The research "A Study of the Acts of Peacekeeping Army"
approach Qualitative Research (Qualitative Research) and research papers
(Documentary Research) and in-depth interviews (In-depth Interview) from the
agency. / soldier who has served. Using primary data (Primary data) is the data
obtained from the observations. And in-depth interviews Including the use of
secondary (Secondary data) Additionally, by analyzing data from literature related
concepts from the research. The researchers collected data from various sources,
including library research EIT.'s Library Limited. Components, including Web sites.
Peacekeeping divided into: the five measures is depicted diplomatic
protection. to maintain peace. Peacekeeping Force to achieve peace And the
creation of the Peace To ensure compliance consistency United Nations be used as a
model In determining the level of the tackle the problem of conflict To the de
clear. And to understand the situations in caused more than the basic principles of
the five factors are as follows Failure to rice the Department the way, the pro
transparency, reliance on dialogue, the control of the power and reliability The also
should add another one principle of law.
------------------------------สารบัญ
คำนำ
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยข้อจำกัดของการวิจัย
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
คำจำกัดความ
2 แนวคิดและข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง
สหประชาชาติกับการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
บทบาททหารทางสันติในทศวรรษหน้า
แนวคิดการใช้กำลังทหารในศตวรรษหน้า
สงครามในศตวรรษที่ 21
กรอบแนวคิดในการวิจัย
3 วิธีการดำเนินการวิจัย
วัตถุประสงค์ที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
4 การใช้กำลังในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพของประเทศไทย
บทบาททางทหารในการเผชิญหน้ากับภัยคุกคามทางความมั่นคงข้ามชาติ
กรณีความขัดแย้งระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้
กรณีความขัดแย้งอิรัก - คูเวต
กองกำลังสหประชาชาติเพื่อการถ่ายโอนอำนาจในกัมพูชา
กรณีความขัดแย้งในสาธารณรัฐเซียร่าลีโอน
กรณีความขัดแย้งติมอร์ตะวันออก
ประเทศไทยกับการปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
โดย กระทรวงการต่างประเทศ
บทเรียนการปฏิบัติงานของนายทหารพระธรรมนูญ
5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตารางการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
สรุปผลการวิเคราะห์
ภาคผนวก
ผนวก ก
ผนวก ข
ผนวก ค
ผนวก ง
abstract:
ไม่มี