เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนาและคุ้มครองแรงงานนอกระบบ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทศพล กฤตวงศ์วิมาน
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง ยุทธศาสตร
์
การพฒั นาและค
ุ้มครองแรงงานนอกระบบ
ลกัษณะวชิา ยุทธศาสตร
์
ผ
ู้วจิัย นายทศพล กฤตวงศ
์
วมิาน หลกัสูตร ปรอ. รุ่นท ๒๖ ีÉ
แรงงานนอกระบบ เป็นกาํลงัแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศจึงถือว่าเป็นกาํลงัสําคญั
ในการพฒั นาเศรษฐกิจภาพรวม แรงงานกลุ่มนีÊโดยทัวÉ ไปอยูน่ อกการคุม้ครองของกฎหมายแรงงาน
และเป็นกลุ่มทีÉมกัประสบปัญหาดา้นสิทธิแรงงาน สภาพการจา้งความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดล้อมในการทาํงาน ตลอดจนขาดหลักประกันทางสังคม เข้าไม่ถึงทรัพยากรและการ
สนบั สนุนจากรัฐไม่มีองคก์รตวัแทน ทาํให้ขาดอาํนาจการเจรจาต่อรองเกีÉยวกบั สิทธิทีÉพึงมีพึงไดร้ับ
ถึงแมว้า่ ปัจจุบนั ภาครัฐจะมีนโยบายและการดาํ เนินการเพÉือขยายความคุม้ครองไปยงัแรงงานกลุ่มนÊี
แต่พบวา่ ยงัไม่ครอบคลุมหรือสอดคลอ้งกบั สภาพปัญหาทีÉแทจ้ริงการศึกษาวิจยันÊีจึงมุ่งเนน้ เกีÉยวกบั
ยุทธศาสตร์การพฒั นาและคุม้ครองแรงงานนอกระบบ โดยได้มีการศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์
ปัญหาแนวคิดของหน่วยงานทีÉเกÉียวขอ้ง ทบทวนนโยบายและการดาํ เนินงานทÉีผ่านมา เพÉือหาแนว
ทางการพฒั นาการบริหารจดัการแรงงานนอกระบบของประเทศให้บรรลุสัมฤทธิผลอยา่ งยังยืน É ซึÉง
จากการวิเคราะห์การดําเนินงานทีÉผ่านมาของประเทศไทย พบว่าสอดคล้องเป็ นไปในแนวทาง
เดียวกบั หลกัคิดและขอ้ เสนอแนะของ ILO ในการบริหารจดัการแรงงานนอกระบบให้ไดร้ับความ
คุม้ครองในด้านต่างๆ โดยประเทศไทยได้มีการพฒั นาระบบคุม้ครองแรงงานนอกระบบ อาศยั
มาตรการทัÊงในเชิงบงัคบั ใช้กฎหมายและเชิงส่งเสริมป้องกนั ทีÉขยายขอบเขตให้ครอบคลุมแรงงาน
กลุ่มนÊีมากยิÉงขึÊน อยา่ งไรก็ตาม เนÉืองจากสาเหตุปัจจยัหลายประการ ทาํใหก้ารดาํ เนินงานทีÉเกีÉยวขอ้ง
ในภาพรวมยงัคงมีอยคู่ ่อนขา้งจาํกดั และควรตอ้งมีการพฒั นายุทธศาสตร์เพืÉอบริหารจดัการแรงงาน
นอกระบบในหลายมิติ เพืÉอขับเคลืÉอนลงสู่การปฏิบัติ ทัÊงนีÊผูว้ิจยัได้มีข้อเสนอแนะการพฒั นา
ยุทธศาสตร์ใน ๓ ดา้น ไดแ้ก่ดา้นการคุม้ครองสิทธิแรงงาน ดา้นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดล้อมในการทาํงาน และดา้นการคุม้ครองหลกั ประกนั ทางสังคม ซÉึงในแต่ละดา้นมุ่งเน้น
การพฒั นากฎหมายและกลไกการบงัคบั ใช้ทÉีครอบคลุมและมีประสิทธิภาพการ รวมถึงระบบการ
ตรวจแรงงานแรงงานนอกระบบ นอกจากนีÊควรมุ่งเน้นการส่งเสริมป้องกนั การสร้างและพฒั นา
เครือข่ายความร่วมมือการศึกษาวิจยัเพืÉอการพฒั นารูปแบบการบริหารจดัการแรงงานนอกระบบ
กลุ่มต่างๆ การสร้างเสริมองค์ความรู้ การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารหน่วยงานภาครัฐ การ
ยกระดบั มาตรฐานการดาํ เนินงานใหส้อดคลอ้งและเทียบเท่ากบัระดบั สากล
abstract:
ABSTRACT
Title Strategies for Development and Protection of Informal Workers .
Field Strategy .
Name Mr. Todsapol Kritawongwiman Course NDC (JSPS) .Class 26 .
Informal workers in Thailand constitute a substantial portion of the labour force. Hence, they
are considered a major force in the development of the country’s overall economy. This group of workers
is typically outside the protection of labour laws. Most of them are vulnerable to the risks on labour rights,
work condition, occupational safety and health, as well as issues on social protection, less accessibility to
resources supported by the government, no representative bodies and lack of power for negotiation.
Although there are public policies and actions to extend coverage to these workers, they are not comprehensive
or consistent with the current situation.
The main objective of this study is to propose strategies for development and protection of
informal workers in Thailand, based on the review and analysis of problem, situation and past activities
under the government policies. Such strategies and recommendations would lead to the improvement of
administration and management of informal workers, to reducing decent work deficits and to achieve the
ultimate goal with sustainability.
From the analysis of information and current situation, the administration and management of
informal workers in Thailand is consistent to the conceptual framework and recommendations of the
International Labour Organization (ILO), that focus on strengthening of protection by means of either law
enforcement or promotion to cover this group of workers. However, because of several factors, the overall
development in the past remains quite limited. To drive into practice, the author has suggested strategies
for development and protection of informal workers in several dimensions. These include the protection of
labor rights, occupational safety and health, and social security. Each is focused on the improvement of laws
and enforcement mechanisms to be comprehensive and effective. In addition, promotion of preventive
measures should also be emphasized along with the establishment of cooperative networks, research and
development for each specific group of informal worker, advisory services, restructuring of public sector
management and enhancing the standard of operations to be consistent and internationally comparable.