สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
014220
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
พระพุทธศาสนาเปรียบเทียบในประชาคมอาเซียน,Comparative Study of the Buddhism in ASEAN
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. วรุตม์ นนทวงษ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2555
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : พุทธศาสนาเปรียบเทียบในอาเซียน โดย : พันเอก วรุตม์ นนทวงษ์ สาขาวิชา : สังคมและจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก ( รัฐฉัตร พุทธวัจน์ศิริ) สิงหาคม ๒๕๕๗ อาเซียนถือเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญองค์กรหนึ่ง ก่อตั้งขึ้นในนาม สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ เรียกกันว่า อาเซียน (ASEAN) เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๐ มีสมาชิกจำนวน ๑๐ ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา และไทย โดยอาเซียนมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องและที่สำคัญการก้าวเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ประกอบด้วย สามเสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community - APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) และ ประชาคม สังคม -วัฒ น ธรรม อ าเซี ย น (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ทั้ งนี้ ในด้านสังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน ประชาชนในรัฐสมาชิกประชาคมอาเซียน มีความหลากหลาย ในด้านอารยธรรม วัฒนธรรม เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ภาษาและศาสนาที่แตกต่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือ หน่วยงานทางด้านศาสนาแต่ละประเทศต้องเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนี้ ในแง่มุมที่แตกต่างกันไป พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่สำคัญและประชานในประชาคมอาเซียนนับถือ จำนวนมาก ซึ่งต้องศึกษาเรียนรู้วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งกันและกัน ทำให้ทราบถึง ความเหมือนและความแตกต่างของพระพุทธศาสนาในแต่ละประเทศประชาคมอาเซียน เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล เผยแผ่กิจกรรมและการพัฒนาพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัย โดย ผู้กรุณาให้ข้อมูลสำคัญ คือ พระอาจารย์คึกฤทธ์โสตฺถิผโล เจ้าอาวาสวัดนาพง จ.ปทุมธานี นายสุจินต์ เพชรเนียน ผู้อำนวยการสำนักการต่างประเทศ สำนักเลขานุการสำนักนายกรัฐมนตรี และนาวาเอก รัฐฉัตร พุทธวัจน์ศิริ ผู้อำนวยการกองวิจัยและวิทยานิพนธ์ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ อาจารย์ที่ปรึกษาภายใน สำหรับเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การศึกษาข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องประชาคม สังคม-วัฒนธรรมอาเซียนในด้านพระพุทธศาสนา รวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้วิจัยได้ทำหน้าที่ เป็นผู้สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญแต่ละท่านด้วยตัวเอง หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้รับไปตรวจสอบและ วิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาตามประเด็น ที่กำหนดไว้ ผลการศึกษาโดยเปรียบเทียบพระพุทธศาสนาในแต่ละประเทศประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย การบริหารจัดการ การปกครองและการศึกษาของสงฆ์ บทบาทและกิจกรรมของสงฆ์ รวมทั้งการประกอบพีธีกรรมทางพุทธศาสนาพบว่า รัฐสมาชิกอาเซียนที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเดียวกันจะมีแนวทางการนับถือศาสนาเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน ประเทศที่มีสงครามหรือเกิดความไม่สงบภายใน พระสงฆ์จะมีบทบาททางการเมืองมากซึ่งเป็นที่พึ่ง และศูนย์รวมจิตใจของประชาชน รัฐสมาชิกอาเซียนที่ประชาชนส่วนใหญ่เป็นมุสลิมจะนับถือมหายาน นิกายที่ชาวจีนโพ้นทะเลเป็นผู้นำมาเผยแพร่ นอกจากวัตถุประประสงค์หลักคือการเผยแพร่ อบรม สั่งสอนพระธรรมแล้ว วัดหรือสมาคมของชาวพุธบางแห่ง ไม่ได้มีเงื่อนไขหรือจำกัดด้วยเรื่องศาสนา โดยตรง อาจรวมการบริการสาธารณะ ด้านสาธารสุข และสวัสดิภาพชุมชนอีกด้วย พันเอก ...... (วรุตม์ นนทวงษ์) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๕๕ สิงหาคม ๒๕๕๗
abstract:
ไม่มี