Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ต่างแดน พิศาลพงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์การชุมนุม ทางการเมืองในเขตกรุงเทพมหานคร ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พ.อ.ต่างแดน พิศาลพงศ ์ หลักสูตร ปรอ.รุ่นที่26 การศึกษาคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ระบบบริ การการแพทย์ฉุกเฉิน ท้งัในกรุงเทพมหานครและต่างประเทศบางประเทศศึกษาวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และแนวทาง การพฒั นาการบริการจัดการการแพทยฉ์ ุกเฉินในสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองในพ้ืนที่ กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน ๗ คน และวิเคราะห์ผลในรูปของการบรรยาย เชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการพัฒนาการบริ หารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินใน สถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ด้านระบบการรับแจ้งเหตุและการตรวจสอบสถานการณ์ ควรมีแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้ ที่ครอบคลุมทุกฝ่ าย และมีช่องทางการติดต่อที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ด้านระบบการประเมินสถานการณ์ และการประกาศใช้แผนระดับต่าง ๆ ควรเป็ นมติ ของศนู ยป์ ฏิบตัิการทางการแพทยใ์นสถานการณ์ฉุกเฉินพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ด้านระบบการสื่อสาร กทม. ควรเตรียมความพร้อมระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ในกรณีสถานการณ์รุนแรง หรือวิกฤต ด้านระบบการจดัต้งัศูนย์อา นวยการและสั่งการ กทม. ควรมีการประชุมร่วมกับศูนย์ ปฏิบัติการส่วนหน้า กระทรวงสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติและผู้ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ อย่างสม ่าเสมอตามความ เหมาะสม การสงั่ การตอ้งเป็นระบบ และชดัเจน ด้านระบบการจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า และหน่วยปฏิบัติการต่าง ๆ มีความ เหมาะสมดีอยู่แล้ว ด้านระบบการระดมทรัพยากรและการหมุนเวยีนบุคลากร ควรใชท้ รัพยากรในพ้ืนที่ กรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ การมีแนวทางการน าทรัพยากรนอกกรุงเทพมหานครมาใช้ เมื่อมีความจ าเป็ นข ด้านการรักษาความปลอดภัย การจราจร และการควบคุมฝูงชน ควรมีสัญลักษณ์ ที่ชัดเจนส าหรับผู้ปฏิบัติงานอยู่ในระบบ ควรมีการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ต ารวจ ทหาร เรื่องการจราจร ด้านการดูแลผู้ชุมนุม ควรให้มีการดูแลผู้ชุมนุมทุกฝ่ าย และเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ าย เฉพาะ การเจ็บป่ วย หรือบาดเจ็บที่เป็ นภาวะฉุกเฉิน ด้านการบริการจดัการและการสนับสนุนต่างๆกทม. ควรได้รับอนุมัติงบประมาณใน การเตรียมความพร้อมและส่งก าลังบ ารุงให้กับหน่วยปฏิบัติการต่าง ๆ ด้านระบบการประชาสัมพันธ์ ควรเพิ่มการประชาสัมพนั ธ์งานของศูนยป์ ฏิบัติการ ทางการแพทย์ในสถานการณ์ฉุกเฉินพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ด้านระบบการเก็บ/บันทึกข้อมูล มีความเหมาะสมอยู่แล้ว ด้านการวิเคราะห์ การประเมินผล และการปรับปรุงแผน ควรมีการวิเคราะห์ และ ประเมินผล ซึ่งน ามาปรับปรุ งแผนสา หรับการปฏิบัติงานในคร้ังต่อไป และควรมีการซอ้ มแผน ร่วมกันของหน่วยต่าง ๆ เพื่อให้การบูรณาการเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขอ้เสนอแนะจากการศึกษาการที่การชุมนุมทางการเมืองเกิดข้ึนภายใตค้วามขดัแยง้ ความเป็นกลางของศนู ยป์ ฏิบตัิการทางการแพทยใ์นสถานการณ์ฉุกเฉินในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร และผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับเป็ นเรื่องที่ส าคัญมากในการน ามาซึ่งแหล่งข่าว ความร่วมมือจากฝ่ าย ต่าง ๆ ตลอดจนความปลอดภัยงานของผูป้ ฏิบัติงาน ส าหรับการที่หน่วยแพทยต์ ่าง ๆ ในพ้ืนที่ กรุ งเทพมหานครให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยฉุกเฉิน กทม. ควรใช้ โอกาสน้ีในการบูรณาการการใชบ้ ุคลากร และทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีการประชุม หารือร่วมกันเพื่อวางแผน มีการซ้อมแผนร่วมกันของหน่วยต่าง ๆ และเมื่อมีการบูรณาการการ ท างานของหน่วยต่าง ๆ การติดต่อสื่อสาร การส่งก าลังบ ารุ ง เป็ นเรื่ องส าคัญในการน ามาซึ่ ง ความส าเร็จของการปฏิบัติงาน

abstract:

0