เรื่อง: การบูรณาการการทูตทหารของกองทัพไทยในการสนับสนุนการเป็นประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ณัฐพงศ์ เกตุสมบูรณ์ ร.น.
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2553
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การบูรณาการการทูตทหารของกองทัพไทยในการสนับสนุน
การเป็ นประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
โดย : นาวาเอก ณัฐพงศ์ เกตุสมบูรณ์
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( ทักษิณ ศิริสิงห )
กรกฎาคม ๒๕๕๕
อาเซียนถือเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทส าคญั องค์กรหน่ึงของโลกก่อต้งัข้ึน
ในนามสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations)
หรือเรียกกันว่า อาเซียน (ASEAN) เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๐ มีสมาชิกจ านวน ๑๐ ประเทศ ได้แก่อินโดนีเซีย
มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว พม่ากัมพูชา และไทยโดยอาเซียนมี
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและที่ส าคัญผู้น าไดเ้ห็นพอ้งกันที่จะจดั ต้งัประชาคมอาเซียนที่ประกอบดว้ย
สามเสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security CommunityAPSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC)และประชาคมสังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ภายในปี ๒๕๕๘ ท้งัน้ีการดา เนินการเพื่อก้าวไปสู่การ
เป็ นประชาคมอาเซียนดังกล่าว ประเทศสมาชิกจ าเป็ นต้องก าหนดนโยบายของชาติในการเตรียม
ความพร้อมของท้ังภาครัฐ เอกชน และส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดท าแผนงานรองรับ รวมท้ัง
ช่วยกันแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ อาทิเช่น ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองกรณีพิพาทเรื่อง
พรมแดนระหว่างประเทศสมาชิก ซึ่งยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกันเป็นต้น
กองทพั ไทยถือเป็นหน่วยงานหลกั ด้านความมนั่ คงของชาติที่มีบทบาทและหน้าที่ในการ
เตรียมก าลังและใช้ก าลังเพื่อการป้องกันประเทศ และการช่วยเหลือประชาชน รวมท้งัมีศกัยภาพใน
การขับเคลื่อนนโยบายของชาติในการสนับสนุนการเป็นประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน
(APSC) ซึ่ งถือเป็ นเสาหลักด้านหนึ่ งของประชาคมอาเซียน ที่มีเป้าหมายให้อาเซียนเป็ นสังคมที่สมาชิกมีความไว้เน้ือเชื่อใจซ่ึงกันและกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิต
ทรัพย์สิน ท้งัน้ีศักยภาพของกองทัพไทยในการขับเคลื่อนนโยบายของชาติในการสนับสนุนการเป็ น
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนคือ การบูรณาการการทูตฝ่ ายทหารของกองทัพไทย
(Defence Diplomacy) โดยผ่านผู้ช่วยทูตฝ่ ายทหารที่ประจ า ณ ประเทศสมาชิกอาเซียน
การทา วิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งผู้วิจัยได้ด าเนินการ
ตามระเบียบวิธีวิจัย โดยมีผู้ให้ข้อมูลส าคัญ (Key Informant) คือ ผู้อ านวยการศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ นายทหารปฏิบัติการ ประจ ากรมข่าวทหารและนักการข่าวช านาญ
การ ส านักข่าวกรองแห่งชาติ ส านักนายกรัฐมนตรี ส าหรับเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล คือ การศึกษาข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ (DocumentaryStudy) และผลงานวิจัย
ต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้งกับประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน และระบบการทูตฝ่ายทหารของ
กองทพัไทย รวมท้งัการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth Interview) โดยผู้วิจัยได้ท าหน้าที่เป็นผู้สัมภาษณ์
ผู้ให้ข้อมูลส าคัญแต่ละท่านดว้ยตวัเอง หลงัจากน้ันจึงน าขอ้ มูลที่ได้รับไปตรวจสอบและวิเคราะห์
โดยใชเ้ทคนิคการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ตามประเด็น (Topic) ที่ก าหนดไว้
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า แนวทางในการบูรณาการการทูตทหารของกองทัพไทยในการ
สนับสนุนการเป็นประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน น้ัน กองทัพไทยโดยบทบาทและ
หน้าที่ของผู้ช่วยทูตฝ่ ายทหาร ณ ประเทสมาชิกอาเซียน สามารถประยุกต์ใช้หลักการด้านนโยบาย
ต่างประเทศและความมนั่ คง (CFSP) ของสหภาพยุโรป หลักการด้านนโยบายเชิงรุกด้วยการทูตฝ่ าย
ท ห ารแบ บ ป้ องกัน (Preventive Defence Diplomacy) และแน ว คิด ก ารป ฏิ บัติก ารข่าว ส าร
(Information Operations) รวมท้งัประยุกต์ใช้วิธีการป้องกันข้อพิพาทที่อาจจะเกิดข้ึนระหว่างไทย
กับประเทศสมาชิกอาเซียน โดยพิจารณาร่วมกับแผนงานการจัดต้งัประชาคมการเมืองและความ
มนั่ คงอาเซียนของกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อการแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ และการสร้างความไว้
เน้ือเชื่อใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างกองทัพไทยกับกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่ งการ
ด าเนินการของผู้ช่วยทูตฝ่ ายทหารของกองทัพไทยสามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างเป็ นรูปธรรมในการ
เตรียมความพร้อมของกองทัพไทยและกระทรวงกลาโหม เพื่อการเป็ นประชาคมอาเซียนโดย
สมบูรณ์ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title : The Integration of Defence Diplomacy of the Royal Thai Armed
Forces forSupporting the ASEAN Political-Security Community
By : Captain Nuttapong Ketsumboon RTN.
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
(Taksin Sirisingha )
July 2012
ASEAN is a major international organization in the world. Founded as the Association of
Southeast Asian Nations, or known as the ASEAN on 1967, there were 10 countries including
Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Brunei Darussalam, Vietnam, Laos, Myanmar,
Cambodia and Thailand, ASEAN has evolved continuously, and the leaders agreed to establish an
ASEAN Community with three pillars, namely ASEAN Political-Security Community-APSC,
ASEAN Economic Community-AEC and ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC by the year
2015, the action to move towards an ASEAN Community that member countries must set
national policy in the preparation of both public and private parts and to plan for. And help
resolve problems such as conflicting political frontier disputes between ASEAN member
countries. We also do not trust each other, etc.
The Royal Thai Armed Forces is a major of the national security agency, whose role and
function of the prepared and used for defense and also helping people. Including the ability to
drive national policy in support of the ASEAN Political-Security Community which is one of the
pillars of the ASEAN Community. The objective is to achieve the ASEAN Community membercountries trust each other in a peaceful, stable and secure in their territory, the potential of the
Royal Thai Armed Forces to drive the national policy in support of the ASEAN Political-Security
Community is the Integration of Defence Diplomacy of the Royal Thai Armed Forces by passing
the Military Defence Attache at the ASEAN member countries.
The purpose of this qualitative research was conducted by the research methodology. The
Key Informant is the Director of the Strategic Studies Center, the National Defence Studies
Institute, the Operating officer, the Directorate of joint Intelligence, and officer of the National
Intelligence Agency-NIA. The Techniques and tools used in the collection of information is the
documentarystudy that involved with the ASEAN Political-Security Community and the Defence
Diplomacy of the Royal Thai Armed Forces. Also including in-depth interviews by the researcher
served as the key informant interviews with himself. Then the data have been checked and
analyzed using content analysis technique issues is defined.
The results of research were as follows. The Integration of the Defence Diplomacy of the
Royal Thai Armed Forces for supporting the ASEAN Political-Security Community, the role of
the Royal Thai Armed Forces by passing the Military Defence Attache at the ASEAN member
countries can apply the principles of foreign policy and national security of the European Union.
The proactive policy of diplomacy with preventive Defence Diplomacy and the concept of the
Information Operations as well as applications to prevent disputes that might arise between
Thailand and ASEAN member countries. In conjunction with the ASEAN Political–Security
Community Blueprint to solve their problems. And build trust and good relations between the
Royal Thai Armed Forces and the ASEAN member countries. The implementation of the Military
Defence Attache of the Royal Thai Armed Forces to perform as well as in the preparation of the
Royal Thai Armed Forces and the Ministry of Defence. For the ASEAN Community by the year
2015 to complete.