เรื่อง: แนวความคิดในการใช้ตำรวจตระเวนชายแดนในภารกิจป้องกันประเทศของกองทัพไทยในทศวรรษหน้า
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.ต.อ. อำนวย พวกสนิท
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวความคิดในการใช้ต ารวจตระเวนชายแดนในภารกิจป้องกันประเทศของ
กองทัพไทยในทศวรรษหน้า
โดย : พันต ารวจเอก อ านวย พวกสนิท
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารยที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง
ต ารวจตระเวนชายแดน จดั ต้งัข้ึนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๖ มีภารกิจในการรักษาความ
สงบเรียบร้อย ป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม และการแพร่ระบาดของยาเสพติด, รักษาความมนั่ คง
ปลอดภัยตามแนวชายแดน และป้องกันปราบปรามการก่อความไม่สงบ, พัฒนาและช่วยเหลือ
ประชาชนเพื่อความมนั่ คงของชาติฯลฯ จนกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยงานที่มีคุณลักษณะ ๓ ประการคือ
สามารถท าการรบได้อย่างทหาร สามารถป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมได้อย่างต ารวจ และ
สามารถพฒั นาช่วยเหลือประชาชนไดอ้ย่างขา้ราชการพลเรือนทวั่ ไป มีโครงสร้างการจัดหน่วยและ
อาวุธยุทโธปกรณ์คลา้ยกบั ทหาร ดงัน้นั เพื่อให้มีเอกภาพในการควบคุมบังคับบัญชา ในการปฏิบัติ
ภารกิจในดา้นยุทธการ รัฐบาลจึงมีคา สั่งส านกั นายกรัฐมนตรีที่ สร.๐๒๐๑/๓๕ ลงวนั ที่๒ มิถุนายน
๒๕๒๐ ให้ต ารวจตระเวนชายแดน ข้ึนในความควบคุมทางยุทธการของฝ่ายทหารในทุกภารกิจ
ต่อมาสถานการณ์ดา้นความมนั่ คงตามแนวชายแดน ลดระดับความรุนแรงลง ในขณะเดียวกัน
สถานการณ์ดา้นอาชญากรรม และการแพร่ระบาดของยาเสพติดกลบั เพิ่มข้ึน ส านกังานตา รวจ
แห่งชาติมีความจา เป็นตอ้งใชต้า รวจตระเวนชายแดน สนบั สนุนหน่วยปกติมากข้ึน จึงเสนอ
นายกรัฐมนตรีขอปรับปรุงแกไ้ขการข้ึนควบคุมทางยุทธการดงักล่าว ส านกันายกรัฐมนตรีมีคา สั่ง
ที่ ๒๒๘/๒๕๔๕ ลงวนั ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๕ แกไ้ขเป็นให้ตา รวจตระเวนชายแดน ข้ึนในความ
ควบคุมทางยุทธการของกองบญั ชาการทหารสูงสุด เฉพาะภารกิจป้องกนั ประเทศเท่าน้นัในภารกิจป้องกนั ประเทศน้นั ตา รวจตระเวนชายแดน มีบทบาทหน้าที่ต้องปฏิบัติ
ตามแผนป้องกันประเทศ ซึ่งก าหนดไว้ ๓ แผนหลักคือ แผนกษัตริย์ศึก (ทก.๕๑) , แผนนเรศวร(สน.
๔๖) และแผนศรีวิชัย (สศ.๔๘) ซึ่งจะต้องปรากฏรายละเอียดการปฏิบัติที่ชัดเจนเพียงพอส าหรับ
การเตรียมการต้งัแต่ยามปกติว่าตา รวจตระเวนชายแดนจะตอ้งปฏิบตัิภารกิจในลกัษณะใดบา้ง มีขีด
ความสามารถในการปฏิบตัิ ไดห้ รือไม่ หรือจา เป็นตอ้งไดร้ับการสนบั สนุนเพิ่มเติมในสิ่งใดบ้าง
เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพสูงสุด
จากการศึกษาวิจยัพบว่า การปฏิบตัติามแผนป้องกนั ประเทศในข้นั ปกติ ตา รวจ
ตระเวนชายแดนมีขีดความสามารถปฏิบตัิได้ส าหรับข้นั ตอบโต้และข้นั ป้องกนั ประเทศน้นั ยงัไม่
ชดัเจนในรายละเอียดการปฏิบตัิการศึกษาวิจยัน้ีจึงไดม้ีขอ้เสนอแนะไวด้งัน้ี
๑. ควรแก้ไขข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เรื่องการ
ให้ตา รวจตระเวนชายแดน ข้ึนในความควบคุมทางยุทธการของฝ่ายทหาร พ.ศ.๒๕๒๒ ให้เป็น
ปัจจุบัน เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างการจัดหน่วยในปัจจุบัน เนื่องจากขณะน้ีตา รวจตระเวน
ชายแดน มิไดเ้ป็นหน่วยงานในสังกดักระทรวงมหาดไทยแลว้ อีกท้งัมีการกา หนดกรอบการปฏิบตัิ
จากเดิมข้ึนควบคุมทางยุทธการในทุกภารกิจ เป็นเฉพาะภารกิจป้องกนั ประเทศเพียงอย่างเดียว และ
มีการยกเลิกการจัดหน่วยบางหน่วยไปแล้ว
๒. ควรกา หนดรายละเอียดการปฏิบตัิตามแผนป้องกนั ประเทศท้งั ๓ แผนให้กับ
กา ลงัประจา ถิ่น ซ่ึงรวมตา รวจตระเวนชายแดนดว้ย อย่างชดัเจนเพียงพอ เนื่องจากกา ลงัประจา ถิ่นมี
ขีดความสามารถน้อยกว่าทหาร การมอบหมายบางภารกิจจา เป็นตอ้งมีการสนบั สนุนเพิ่มเติม และ
ควรจดัเตรียมให้พร้อมต้งัแต่ยามปกติ
อย่างไรก็ตาม แนวความคิดในการใช้ก าลังต ารวจตระเวนชายแดน ในการปฏิบัติ
ภารกิจป้องกนั ประเทศที่เหมาะสม ควรเป็นลกัษณะการใชก้า ลงัในข้นั ปกติ ส่วนในข้นั ตอบโตแ้ละ
ข้นั ป้องกันประเทศน้นั ตา รวจตระเวนชายแดนมีความเหมาะสม ในการปฏิบตัิการในพ้ืนที่ส่วนหลงั
มากกว่า
abstract:
Abstract
Title: The Approach on Border Patrol Police Usage in Defense Affair for the
Royal Thai Armed Forces in the Next Decade
Author: Police Colonel Amnouy Phuaksanit
Subject: Military
Adviser: Colonel Kajohnrit Nilkamhaeng
The Border Patrol Police (BPP) was established in 2496 B.E. (1953).
Its main missions are focusing on national defense, suppression and prevention of
crime and drugs, border security, counter-terrorism, people development for national
security. The Border Patrol Police has three distinctive characteristics; an ability to
battle in war as same as soldiers, an ability to prevent and suppression of crime as
same as police officers, and an ability to develop and help people as same as general
civil servants. The organizational structure and arm management of the BPP are
similar to those of the army. In order to obtain the unity of command and strategic
operation, the government released the order of the Office of the Prime Minister No.
OPM. 0201/35 dated on the 2nd of June, 2520 B.E. (1977). According to the order, the
BPP shall be under the supervision of the army in term of battle control in every
operation. However, the severity of border security nowadays has been decreasing. In
contrast, the criminal and drugs problems have been increasing. As a result, the Royal
Thai Police required manpower from the BPP to support its operation. The Royal Thai
Police, therefore, requested to change the battle control. Then, the OPM Order No.
228/2545 dated on the 20th of August, 2545 B.E. (2002) was released. According to
this order, the BPP shall be under the supervision of the Royal Thai Armed Force
Headquarter in term of battle control only for national defense mission.
With regard to the national defense mission, the BPP has the roles and
functions in accordance with the three National Defense Plans; Kasatsuek (TorKor
51), Naresuan (SorNor 46), and Srivichai (SorSor 48). All three plans should provide
clear and enough information of operation in every situation. Hence, the BPP will
know its operational missions, its capability, or whether additional supports are
required or not in order to achieve highest efficiency of operation.
This study found that the BPP’s operation with regard to the National
Defense Plans during the normal situation has a capability in the response stage.
However, there is no clear operational detail. Hence, some suggestions are provided as
following:
1. The agreement between the Ministry of Defense and Ministry of
Interior, the BPP shall be under the supervision of the army in term of battle control 2522 B.E., should be amended to meet the current situation and present organizational
structure since the BPP is no longer an agency under the Ministry of Interior. In
addition, it is under the supervision of the army only in the national defense mission
and some units have been abolished already.
2. Operational detail in accordance with the three National Defense
Plans should be provided clearly and adequately for the BPP and local forces.
However, the local forces have less capability than the army. Consequently, additional
supports should be readily planned and provided for the local forces even in the
normal situation.
However, the appropriate approach of using the BPP force for national
defense should be the usage of force in the normal stage. According to the response
and national defense stages, the BPP is suitable for the supportive (rear area) operation
rather than the front area operation.