เรื่อง: การศึกษาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของโครงการระบายน้ำบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ ภายใต้ระบบระบายน้ำโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชลหารพิจิตร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สุรัช ธนูศิลป์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศกึษาวิเคราะห
์ประสิทธิภาพของโครงการระบายน้า บริเวณ
สนามบินสุวรรณภูมิภายใตร
้
ะบบระบายน้า โครงการส่งน้า และ
บ ารุงรักษาชลหารพิจิตร
โดย : นายสุรัช ธนูศิลป์
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ………………………..
(นรชัย วงษ์ดนตรี)
กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
โครงการระบายน้ าบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ เป็ นโครงการชลประทานขนาดใหญ่ที่
ก่อสร้างข้ึนตามแนวพระราชดา ริเพื่อแกไ้ขปัญหาอุทกภยับริเวณรอบพ้ืนที่สนามบินสุวรรณภูมิ ใน
เขตจังหวัดสมุทรปราการ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อท าหน้าที่ระบายน้ าจากคลองส าโรงออกสู่
ทะเลโดยตรง เริ่มทา การก่อสร้างต้งัแต่ ปี๒๕๔๘ แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๓ และไดเ้ริ่มปฏิบตัิงาน
สูบระบายน้ า ต้ังแต่ปี๒๕๕๓ เป็ นต้นมา การศึกษาคร้ังน้ีได้ท าการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ
โครงการระบายน้ าบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิโดยพิจารณาผลการระบายน้ าต้งัแต่ช่วงก่อนการ
ก่อสร้างโครงการในปี๒๕๔๙ จนถึงปีที่ดา เนินการแลว้เสร็จและได้เริ่มมีการใช้งานเต็มรูปแบบใน
ปี ๒๕๕๓ รวมท้งัพิจารณาจากความสามารถในการลดระดบั น้ าคลองส าโรง ซ่ึงเป็นจุดรับน้ าเขา้
คลองระบายน้ าสุวรรณภูมิเพื่อระบายออกสู่ทะเลที่บริเวณต าบลบางปูอ าเภอเมือง จังหวัด
สมุทรปราการ
ผลการศึกษาวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบระบายน้ าสุวรรณภูมิซึ่ งใช้ข้อมูลผลการ
ด าเนินการ ปี ๒๕๕๓ ปรากฏว่าในช่วงน้ าหลากสามารถควบคุมระดับน้ าคลองส าโรง มิให้เกิน
เกณฑ์ระดับ + ๐.๔๐ เมตร รทก. จนถึงสิ้นฤดูฝน ขณะที่ปริมาณน้ าที่ระบายออกสู่ทะเลของสถานี
สูบน้ าสุวรรณภูมิเปรียบเทียบกับปริมาณน้ าที่ระบายโดยรวมของโครงการ คิดเป็น ๑๐.๑๐% ซึ่ ง
เป็นปริมาณน้ าส่วนที่ระบายผ่านบริเวณพ้ืนที่สนามบินสุวรรณภูมิ และเมื่อพิจารณาความสามารถ
ในการลดระดบั น้า คลองส าโรง เปรียบเทียบระหว่างปี ที่ด าเนินการ กับค่าเฉลี่ย ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๑ซึ่งยังก่อสร้างโครงการไม่แล้วเสร็จ ปรากฏว่าสามารถลดระดับน้ าได้๑๕.๑๔% โครงการระบาย
น้ าบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิจึงเป็นโครงการระบายน้ าหลกั ที่ช่วยให้พ้ืนที่ลุ่มบริเวณสนามบิน
สุวรรณภูมิต่อเนื่องจนถึงแนวคลองส าโรง ในเขตอ าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการไม่ได้รับ
ผลกระทบจากปัญหาน้า ท่วมขงัในช่วงน้ าหลากเดือนสิงหาคม-ตุลาคม อย่างไรก็ตามปริมาณน้า ที่
ระบายผ่านสะพานน้ าออกสู่ทะเลเฉลี่ยประมาณ ๒๕-๕๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อาจเกิดการกัด
เซาะจนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพ้ืนที่ชายฝั่งทะเลในระยะยาว รวมท้งัในกรณีที่มีการระบาย
น้า อย่างต่อเนื่องเกินกว่า ๓๐ วนั อาจมีผลต่อค่าความเค็มของน้า ทะเลที่ลดลงมากกว่า ๑๐ กรัม/ลิตร
ซ่ึงเกษตรกรที่ทา ประมงชายฝั่ง ไม่สามารถเปิดรับน้า ทะเลเขา้บ่อหอยแครงได้จึงควรมี
แนวทางการติดตามสภาพแวดลอ้ มชายฝั่งทะเลและการบริหารจัดการระบบระบายน้ าที่น ากลุ่ม
เกษตรกรเขา้มามีส่วนร่วม ซ่ึงจะช่วยให้โครงการระบายน้ าบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิก่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดได้ตามแนวพระราชด าริABSTRACT
Title : The study of efficiency analysis of drainage around the
suwannabumi airport project under the drainage system of
collaharnpojit irrigation project.
By : Mr.Surat Thanusin
Major Field : Science and technology.
Research Advisor : Colonel ……………………………..
(Norachai Wongdontri)
July 2011
The drainage around Suwannabhumi airport is the immense irrigation project
which was counstructed by following H.M.the king’s idea to solve floodind problems
around Suwannabhumi airport in Samuthprakarn province. The main objective of this
project is to drain the water from Sumrong canal directly through the sea. From the
beginning in 2005, the construction finished and operated in 2010. This research
analysed the efficient of the drainage around Suwannabhumi by considering the
amount of water that was drained from the beginning in the year 2005 until fully
operated in 2010. Including, the capablity of the drainage from Sumrong canal which
is the main area that support the drainage from Suwannabhumi to the sea at Bangpoo
District Samuthprakarn Province.
The result of the analysis of Suwannabhumi’s drainage efficiency, which
implement on oveerall implementation data in 2010, shows that the warter level was
controled in less than +0.40 milimeter during the flood period till the end of the rainy
season, while the amount of water that was drained to the sea from Suwannabhumi’s pumping station comaparing to overall drainage of the project was 10.10%. Comparing
the capability of water drainage in the year of operation with the average data of the
prior period, during 2005 to 2009 which the project was not finished, the amount of
water reduction was gained more in 15.15%.
The drainage around Suwannabhumi airport project is the main irrigation
project, which support drainaging in lowedland around Suwannabhumi area through
Samrong cannal, that protect Bangplee District in Samuthprakarn Province from
flooding problem during the rainy season. However, the amount of water that was
drained through Water Bridge to the sea was 25-50 m3
/s which caused the erosion that
can change the costal environment in long term. Besides, the continuous drainage more
than 30 days can result in the reducing the salinity of sea water which can be more
than 10 mg/l, which result on coastal fisheries such as scallop farming can not conduct
the sea water into their farm. Thus, tracking on costal environment and drainage
management, which allowed fishermen to involve, will help the irrigation project
around the Suwannabhumi area to be more efficent and effective by following H.M.the
king’s idea.
abstract:
ไม่มี