เรื่อง: การจัดการความรู้กองทัพอากาศ : ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. สุชาติ เทพรักษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การจัดการความรู้กองทัพอากาศ : ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
โดย : นาวาอากาศเอกสุชาติ เทพรักษ์
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(ประสงค์ จนั่ วิลยั)
สิงหาคม ๒๕๕๔
การวิจัยเรื่องน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ของกองทัพอากาศ และ
ออกแบบการจัดการความรู้ที่มีความเหมาะสม และมีประสิ ทธิภาพ เป็ นก้าวแรกในการน า
กองทัพอากาศไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ในอนาคต
วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็ นการด าเนินการวิจัยจากข้อมูลที่
รวบรวมได้จากเอกสารและต ารา ศึกษาเปรียบเทียบจากกรณีศึกษาที่มีผู้เชี่ยวชาญได้ศึกษาไว้แล้ว
จ านวนหลายกรณีศึกษา ประกอบกับข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับด้านการพัฒนาบุคลากร ท้งั
จากหน่วยงานภายในกองทัพอากาศจากหน่วยงานอื่น ๆ ภายนอกกองทัพอากาศ เพื่อช่วยให้เกิด
ความรอบครอบในการวิจยัเพิ่มข้ึน
ผลการวิจัยเมื่อได้วิเคราะห์สภาพปัจจุบันของกองทัพอากาศ ประกอบกับการศึกษา
ข้นั ตอนการสร้างองคก์ ารแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ตามแนวทางขององคก์ ารโดยทวั่ ไป
ออกมาในรูปแบบของ SWOT ที่สามารถก าหนดกระบวนการพัฒนาหรือการวางแผนพัฒนาการ
จัดการความรู้กองทัพอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว สามารถกา หนดข้ึนเป็นกลยุทธ์(Strategy)
ในการพัฒนาการจัดการความรู้กองทัพอากาศจ านวนรวม ๖ กลยุทธ์โดยจัดเป็นกลยุทธ์เชิงรับและ
กลยุทธ์เชิงรุก ดงัต่อไปน้ี
๑. กลยุทธ์เชิงรับ
กลยุทธ์ที่ ๑ การสร้างความมุ่งมนั่ ต่อการเป็นองคก์ ารแห่งการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ ๒ การเปลี่ยนรูปลักษณะของการเรียนรู้และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้
ของทีมกลยุทธ์ที่ ๓ การกระตุ้นให้ก าลังพลตระหนักถึงความส าคัญของการคิดและ
กระท าอย่างเป็นระบบ
๒. กลยุทธ์เชิงรุก
กลยุทธ์ที่ ๔ การเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้บริหารและการพัฒนาผู้น า
กลยุทธ์ที่ ๕ การสร้างวัฒนธรรมของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กลยุทธ์ที่ ๖ การสร้างระบบกลไกในการเผยแพร่การเรียนรู้และสร้างคลังความรู้
ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดการความรู้กองทัพอากาศไปสู่การปฏิบัติน้ันการด าเนิน
กลยุทธ์ที่ ๑ กลยุทธ์ที่ ๒ และกลยุทธ์ที่ ๓ เป็นกลยุทธ์เชิงรับที่จา เป็นต้องเริ่มดา เนินการก่อน และ
จดัเป็นแผนงานในระยะส้ัน ซ่ึงการดา เนินกลยุทธ์ที่๔ และกลยุทธ์ที่๕ เป็นกลยุทธ์เชิงรุกที่จะต้อง
ด าเนินงานเป็ นแผนระยะยาวอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับความเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยงั่ ยืน
ตลอดไปส่วนการด าเนินกลยุทธ์ที่ ๖เป็ นกลยุทธ์เชิงรุกที่มีความส าคัญและเกี่ยวข้องกับความ
ต้องการด้านงบประมาณในการจัดการความรู้ ดังน้ันการดา เนินกลยุทธ์น้ีจึงจา เป็นต้องอาศยัความ
รอบคอบและความมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ
จัดการความรู้ภายในกองทัพอากาศเป็นอย่างยิ่ง
เมื่อไดด้ า เนินกลยุทธ์ดังกล่าวท้งัหมด กา ลงัพลจะมีความรู้ความสามารถที่เพิ่มมากข้ึน
และพร้อมที่จะน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่กองทัพอากาศ ส่งผลให้การปฏิบัติภารกิจด้านต่างๆ
ของกองทัพอากาศเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง
เป็ นไปตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย และสอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ โดยเฉพาะมาตรา ๑๑ (การพัฒนา
ความรู้ของส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้)
ผูว้ิจยัมีความเชื่อมนั่ ว่าแนวทางการพฒั นาแบบจดั ต้งัคณะกรรมการและประสานความ
ร่วมมือจากทุกหน่วยข้ึนตรงกองทพั อากาศในการปฏิบตัิประกอบกบัการดา เนินงานท้งั ๖ กลยุทธ์
ที่เป็นไปอย่างมีข้นั ตอน รวมท้งัการเปิดโอกาสกวา้งให้กา ลงัพลไดม้ีส่วนร่วมให้มากที่สุด จะท าให้
กองทัพอากาศสามารถพัฒนาไปสู่การเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว และจะมีความ
ยงั่ ยืนต่อไป
เนื่องจากการวิจยัคร้ังน้ีไม่มีการทดลองนา ไปปฏิบัติและประเมินผล ด้วยข้อจ ากัดของ
เวลา ดงัน้นัผลของการวิจัยจึงเป็นการน าเสนอแนวทางกลยุทธ์ในลักษณะกวา้ง ๆ เท่าน้นั ผูส้ นใจ
อาจทา การวิจยัเพิ่มเติม เพื่อนา ไปพฒั นาให้เป็นรูปธรรมต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Topic : Knowledge Management of Air Force: Strategies for Practices
By : Group Captain Suchart Teparak
Major Field : Military
Research Advisor : Group Captain
(Prasong Jandwilai)
August 2011
The objective of this research is to manage the Air Force’s knowledge and to issue an
appropriate knowledge management that is efficient. This is aimed to be the Air Force’s initial
progress for future education.
The process of this research is of quality research. In this instance, it is the research
that is based on collected documents and texts comparing with many case studies that have been
carried out by experts. Moreover, this research includes information that is related to the Personal
Development section by experts from divisions in the Air Force itself and others as well. All of
the details in this research are carried out thoroughly in order to make sure that the research is
carried out prudently.
The result of a current condition of the Air Force as well as the study of the educating
process and the knowledge management of many organizations in the form of SWOT, which can
determine the procedures or plans for the development of efficient Air Force’s Knowledge
Management are shown in 6 strategies. They are the defensive strategies and offensive strategies.
1. Defensive Strategies
1
stStrategy To build a determination of becoming an educating organization
2
nd Strategy To transform the educating features and to develop the educating
activities of the team
3
rdStrategy To stimulate the forces/troops to realize the importance of a thinking
and acting systemically
2. Offensive Strategies
4
thStrategy To change the role of the chief executive and the develop the leader5
thStrategy To create the consecutive progress of development
6
thStrategy To build a mechanism of education and construct the knowledge base
with high technology
Those are the suggestions for the Air Force’s Knowledge Management: Strategies for
Practices. 1st, 2nd, and 3rd Strategies are Defensive Strategy that must be carried out first and are
considered a short term plan. For 4th and 5th Strategies are the Offensive Strategies that must be
carried out continuously and in a long term in order to become an enduring educated organization
in the future. As for the 6thStrategy, one of the Offensive Strategies, that is crucial and related to
the need for budget to create the knowledge management. Therefore, in order to carry out this last
Strategy, it is necessary that prudent and cautious are brought in to examine the technology that
will be used for Knowledge Management in the Air Force.
If all the strategies are carried out, the forces would be more efficient in terms of
knowledge and would be ready to use these to benefit the Air Force. As a consequence, duties
that are carried out by the forces would be effective and in accordance to these changing
situations at the moment, which is in line with the Thai official government’s strategy.
Furthermore, carrying out these strategies would be relevant to the Decree of criteria and method
of managing a decent country 2003. Especially measure 11 (the development of
knowledge/education of the government section to become an educated organization).
The researcher is confident that the developmental strategy in the form of the
establishment of the committee and the coordination from all sections that are of the Air Force in
terms of practice would work as well as carrying out the 6 well organized Strategies. Including
the chance for the forces to be part of the development as much as possible would encourage the
Air Force to become an educated organization more rapidly and enduringly.
Because this research has not been experimented and evaluated due to the time
limitation thus the result of this research is to provide a general suggestion of the strategies only.
For those who are interested, more research could be carried out in order to create the future’s
concrete outcome.