Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบโทรคมนาคมทหารในการสนับสนุนระบบควบคุมบังคับบัญชาของกองทัพไทยในการป้องกันชายแดนด้านทิศตะวันออก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สิรเศรษฐ์ นุชอำพันธ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2552
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาระบบโทรคมนาคมทหารสนับสนุนระบบควบคุมบังคับบัญชา ของกองทัพไทย ในการป้องกันชายแดนด้านทิศตะวันออก โดย : พันเอก สิรเศรษฐ์ นุชอ าพันธ์ สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ขจรฤทธิ์ นิลก ำแหง ) สิงหำคม ๒๕๕๔ ระบบโทรคมนาคมทหารของกองทัพไทย ได้อ านวยความสะดวกแก่กองทัพไทยในการ บริหาร ประสานงาน การควบคุม การบังคับบัญชา และอ านวยการ เป็ นเวลาต่อเนื่องมากว่า ๓๐ ปี ระบบสื่อสารกองทัพไทย เป็ นส่วนประกอบส าคัญของอ านาจก าลังรบของกองทัพ เนื่องจากเป็ น ปัจจัยส าคัญในการก าหนดผลแพ้ชนะของการยุทธ์ในแต่ละคร้ัง ไม่ว่าจะเป็ นการรบตามแบบ การ รบนอกแบบหรือแมก้ระทงั่ การป้องกนั ปราบปรามการก่อความไม่สงบภายในประเทศก็ตาม ดงัน้ัน กองทัพจึงมีการน าระบบสื่อสารโทรคมนาคมและระบบสารสนเทศมาใช้ในการติดต่อสื่อสาร ระหว่างหน่วยงานของกองทัพ และหน่วยงานด้านความมั่นคงอื่น ๆ ท้ังในภาวะปกติและภาวะ สงคราม โดยผ่านระบบสื่อสารซ่ึงมีโครงข่ายตามลา ดบัข้นัการจดัองคก์รจนถึงกา ลงัพลผูป้ ฏิบตัิงาน ซึ่ งเป็ นก าลังรบหลัก โดยระบบสื่ อสารของกองทัพไทยถูกออกแบบ ตามความจ าเป็ นและ วัตถุประสงค์ในการใช้งาน ซ่ึงแตกต่างจากระบบสื่อสารเชิงพาณิชย์โดยทั่วไปในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดา้นของความเชื่อถือได้(Reliability) ความคงอยู่ (Availability) และด้านการ รักษาความป ลอด ภัย (Security) ตลอด จนคว าม เห มาะส มใน การใช้งาน ใน สถาน การณ์ สภาพแวดล้อมและเวลาที่แตกต่างกัน ปัจจุบันระบบโทรคมนาคมทหารได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงระบบของอุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสารไปตามเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงจ าเป็นที่จะต้องมีการพัฒนา ระบบโทรคมนาคมทหารโดยต่อเนื่อง ท้งัน้ีระบบสื่อสารหลักของกองทัพจะท าหน้าที่สนับสนุนการสื่อสารประเภทเสียงและประเภทข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารส าหรับระบบควบคุมบงัคบั บญั ชาและสั่งการ (C 4 I)ของกองทัพไทย เมื่อเกิดสถานการณ์ข้ีนโดยเฉพาะตามแนวชายแดนในการป้องกันประเทศ มีหลายพ้ืนที่ที่ระบบ โทรคมนาคมทหารไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากระบบโทรคมนาคมทหารไม่มีโครงข่ายไป ถึง แต่เดิมระบบโทรคมนาคมทหารได้วางเป็นระบบเส้นหลัก (Backbone) ให้การสนับสนุนหน่วย ในกองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทพั ในบางคร้ังต้องอาศยัโครงข่ายของหน่วยงานอื่นท้ัง ภาครัฐและเอกชนเพื่อด ารงการสื่อสารให้ใช้งานได้ ห้วง ๒-๓ ปีที่ผ่านมา สถานการณ์ชายแดนด้านทิศตะวันออก กล่าวคือประเทศกัมพูชา มีสถานการณ์วิกฤตหลายคร้ัง มีการปะทะของทหารของท้ังสองประเทศ การตอบสนอง ผู้บังคับบัญชาในการด ารงการติดต่อสื่อสารเพื่อให้ระบบควบคุมบังคับบัญชา (C 4 I) สามารถท างาน ได้เพื่อใช้ควบคุม สั่งการ และอา นวยการ จากศูนยบ์ ญั ชาการทางทหาร ไปยงัศูนยป์ ฏิบตัิการเหล่า ทพัไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาที่ส าคญั คือกองทพัไม่มีโครงข่ายรองรับไปยงัพ้ืนที่เป้าหมายได้ ดังน้ันจึงจ าเป็นที่จะต้องมีการดา เนินการเพื่อให้เกิดโครงข่ายการสื่อสารในระบบโทรคมนาคม ทหารข้ึนมารองรับ การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์๓ ประการ คือ เพื่อศึกษาปัญหาด้านการสื่อสารในระบบ โทรคมนาคมทหาร เพื่อหาแนวทางการพัฒนาระบบการสื่อสารร่วมของกองทัพไทย เพื่อน าเสนอ แนวทางการพัฒนาระบบโทรคมนาคมทหารในการสนับสนุนระบบควบคุมบังคับบัญชา ในการ ป้องกันชายแดนด้านทิศตะวันออก ในสถานการณ์วิกฤตและสามารถขยายผลไปสู่การสนับสนุน ด้านอื่น ๆ ของทุกกองกา ลงัป้องกนั ชายแดนทวั่ ประเทศ การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาระบบโทรคมนาคมทหารในการสนับสนุนระบบ ควบคุมบังคับบัญชาในการป้องกันประเทศทางด้านทิศตะวันออก เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ซึ่ งผู้วิจัยได้ รวบรวมข้อมูลต่างๆ จากประสบการณ์ท างานในพ้ืนที่จริง จากแนวทางการพัฒนาระบบ โทรคมนาคมทหารจากผู้ที่ท างานด้านการสื่อสารและผู้ที่เกี่ยวข้องในพ้ืนที่วิกฤตตามแนวชายแดน ด้านทิศตะวันออกโดยลักษณะของข้อมูลที่จะน ามาใช้ในการวิเคราะห์มีท้ังข้อมูลจากเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ (ข้อมูลทุติยภูมิ) และข้อมูลสนาม (ข้อมูลปฐมภูมิ) ซึ่งได้จากการการสังเกต และ จากประสบการณ์การท างาน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ระบบโทรคมนาคมทหารในปัจจุบันยังไม่ตอบสนองต่อการ สนับสนุนระบบควบคุมบังคับบัญชากองทัพไทยในการป้องกันประเทศทางทิศตะวันออก เนื่องจากโครงข่ายการสื่อสารระบบโทรคมนาคมทหารกองทัพไทยยังไม่เป็นรูปธรรม ขาดโครงข่ายในการ สนับสนุนในภาพรวม ข้อเสนอแนะจากการวิจัย กองทัพไทยจะต้องจัดต้งัสถานีโทรคมนาคมทหารเพิ่มเติม เพื่อให้ระบบการสื่อสารเขา้ถึงในพ้ืนที่วิกฤต การขาดแคลนเครื่องมือสื่อสาร การปรับปรุงแผน แม่บทการพัฒนาระบบโทรคมนาคมทหาร โดยให้ความส าคัญในการจัดหาเครื่องมือสื่อสารที่มี ความทนั สมยัรองรับเทคโนโลยีใหม่ การขยายหรือเพิ่มเติมเส้นทางเครือข่ายไปยงัพ้ืนที่ตามแนว ชายแดนเพิ่มเติมมากข้ึน หรือพ้ืนที่ต้องสนใจตามแนวชายแดนทวั่ ประเทศ การใช้อากาศยานที่มี สมรรถนะสูงมาปรับปรุงเป็ นสถานีสื่อสารลอยฟ้า เพื่อแก้ปัญหาเรื่องสภาพอากาศที่มีผลกระทบต่อ การติดต่อสื่อสารรวมท้งัการใช้ยานพาหนะเป็น รถปฏิบตัิการเคลื่อนที่ส าหรับโครงข่ายปฏิบตัิการสู่ ส่วนกลาง (Network Centric Operation) ซึ่งเป็นหนทางปฏิบัติที่น่าจะท าการวิจัยต่อไปABSTRACT Title : The Guideline for development of military telecommunication system that will support C4 I system in eastern border defense operations. By : Col. Siraseth Nuch-ampan Major Field : Military Research Advisor : Col. ( Kajohnrit Nilkamhaeng ) August 2011 The military telecommunication have been facilitated the Royal Thai Armed Forced in managing coordinating commanding and controlling for more than 30 years. Thai military communication system is one of the important components in combat power which is the major factor that results in winning or loses of each operation, for instance conventional operations, unconventional operations and counter insurgency operations. Therefore, implementation on telecommunication and information system have been use for coordinate and communicate whist organizations, military organizations and security organizations, during peace time and crisis through the communication system which has supported network from the top through the edge of the organization, through all organizational structure. Military communication system was designed on needs and purposes of usage which have many difference from commercial communication system, especially on Reliability, Availability, and Security, including suitable capabilities to use in differences situation, environment and time. Nowadays, military communication systems have been developed on communication equipment by the change of the technology, so that it is necessary to continue developing the military communication systems. Besides, main communication system of the Armed Forces will have effective capabilities in supporting on voice and data communication among the related organization, especially the communication for Command and Control system or C4 I system of the Royal Thai armed Forces when the situation occur along the border. There are many areas that military communication system is useless by the lack of network. In the past, military communication system had deployed Backbone for supporting units in Royal Thai armed Forces and all services but sometimes have to depend on others network, for instance other government sector’s network or private network, to retain the communication. In the past few years, many crisis situations occurred on eastern part of Thailand, the attacks by military from both countries along Thai-Cambodia border. Response to the need of the commanders in retaining communication to maintain the command and control, these functions should be fully function and ready to operate on command control and directing from the head quarter. Major problem maintain the communication system is the lack of network in the target area, so that it is necessary for the Armed Forces to establish the military communication network. This research has 3 main objectives which are to study the problems of communication in military telecommunication system, to define the development guideline for joint communication for Thai Armed Forces, and to propose the guideline for the development of military telecommunication system that will support C4 I system in eastern border defense operations which leads to another support for other border defense forces around The country. The research on the development of military telecommunication system that will support C4 I system in eastern border defense operations is a qualitative research that uses descriptive research methodology. Researcher gathered data by many sources, for example, the data from the researcher’s experience of working in the target area, from military telecommunication system development guideline, and from officers who was on duty in the area. Then analyses the data, primary data which from observed results and working experience and secondary data from documents, articles, rules and regulations. The result shows that military telecommunication system in the present time is not adequate for supporting the C4 I system of Royal Thai Armed Forces in eastern border defense operations, because the military telecommunication network system implementation is not concrete and the lack of network in overall. Royal Thai Armed Forces have to establish more on military telecommunication stations in order to have the coverage of the communication system over the crisis area. The development of military communication system master plan focusing on procurement for the communication systems which have advanced and emerging technology, extending and adding the node of the communication network along the border or the interested area around the country must be implemented. The usage of aircraft and modification of high capabilities aircraft to be a flying communication station which will solve the weather problems should be on further research.

abstract:

ไม่มี