เรื่อง: แนวทางการกำหนดมาตรการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) มากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สัมพันธ์ รงศ์จำเริญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการก าหนดมาตรการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการ
กองทัพไทย ที่มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) มากกว่า ๒๕ กิโลกรัม/ตารางเมตร
โดย : พันเอก สัมพันธ์ รงศ์จ าเริญ
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์ )
๑ สิงหาคม ๒๕๕๔
ก าลังพล ถือเป็ นทรัพยากรที่มีคุณค่า หรือทุนที่ส าคัญของกองบัญชาการกองทัพไทย
เพราะก าลังพลเป็ นผู้คิด ผู้วางแผน และเป็ นผู้น าแผนไปสู่การปฏิบัติ ความพร้อมรบด้านก าลังพล
จึงเป็ นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดความพร้อมรบด้านอื่น ซึ่งผลการตรวจสุขภาพร่างกายประจ าปีของ
กองบัญชาการกองทัพไทย พบว่ามีก าลังพลภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพเพิ่มข้ึนโดยตลอด กล่าวคือ
ในปี ๒๕๔๒ มีร้อยละ ๑๔.๒๓ เพิ่มเป็นร้อยละ ๓๓.๗๒ ในปี๒๕๕๒ หากปล่อยให้สถานการณ์
ดังกล่าวด าเนินไป ย่อมส่ งกระทบต่อความพร้อมรบด้านอื่น จนบั่นทอนขีดความสามารถ
การเตรียมก าลังการใช้ก าลัง และการป้องกันราชอาณาจักร ซึ่งเป็นภารกิจหลักของกองทัพไทย
เพื่อให้เกิดความพร้อมรบด้านก าลังพล การวิจัยในคร้ังน้ีจึงมุ่งศึกษาหาแนวทางการ
ก าหนดมาตรการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัย
๓ ประการ ประกอบด้วยการศึกษาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพของประเทศไทย การศึกษาแนวทาง
การส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทยในอดีตถึงปัจจุบัน ประการสุดท้ายคือ
การน าเสนอแนวทางการก าหนดมาตรการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีค่า
ดัชนีมวลกาย (BMI) มากกว่า ๒๕ กิโลกรัม/ตารางเมตรการวิจัยใช้การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
ก าลังพลกลุ่มสุขภาพปกติ กลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ผู้อ านวยการกองกรมก าลังพลทหาร กองบัญชาการ
กองทัพไทย และข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ที่เข้าร่วมโครงการกองบัญชาการกองทัพไทย
ไร้พุง ที่มีผลการปฏิบัติ ๓ ล าดับแรก น าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ประมวลผล เพื่อก าหนดแนวทางการก าหนดมาตรการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
มากกว่า ๒๕ กิโลกรัม/ตารางเมตร
ผลการวิจัยพบว่า มาตรการส่งเสริมสุขภาพเพื่อน าไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็ นรูปธรรม
จะต้องมีการก าหนดนโยบายในระดับกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีแนวทางน าไปสู่การปฏิบัติ
อย่างชัดเจน ด้วยการช้ีน าด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเขา้ใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ มี
การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการส่งเสริมสุขภาพ ท้งัด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
และพฤติกรรมการออกก าลังกาย การสร้างชุมชนให้เข้มแข็งด้วยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
ให้กับกา ลงัพลท้งัหมด เพื่อก่อเกิดสภาวะเอ้ือต่อการดา เนินการ ตลอดจนให้มีการจัดทีมหรือกลุ่ม
เพื่อให้เกิดพลังร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน มีการพัฒนาทักษะส่วนบุคคล ด้วยการ
ให้ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สุดท้ายคือการ
ปรับเปลี่ยนมุมมองด้านบริการสาธารณสุขจากหน่วยงานด้านการแพทย์ เป็นงานของผู้บังคับบัญชา
ทุกระดับ ทุกหน่วยงาน
ข้อเสนอแนะ เพื่อให้การด าเนินการส่งเสริ มสุขภาพประสบความส าเร็จ อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล กองบัญชาการกองทัพไทย จ าเป็ นต้องน ากลยุทธ์และกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพตามแนวคิดกฎบัตรออตตาวา มาปรับใช้อย่างเหมาะสม ด้วยการใช้กิจกรรมการส่งเสริม
สุขภาพกับก าลังพลทุกนาย เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือต่อสุขภาพ การสร้างชุมชนที่เขม้แข็งท้ังที่
ท างานและครอบครัว ท้ังน้ีเพื่อควบคุม ป้องกันการเพิ่มก าลังพลกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ และลด
ก าลังพลกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งการกระท าดังกล่าวจะเป็นไปไม่ได้เลยถ้าขาดการก าหนดนโยบาย
ในระดับกองบัญชาการกองทัพไทย จากผู้บัญชาการทหารสูงสุด เพื่อให้มีการน าไปสู่การปฏิบัติโดย
ผ่านกระบวนการด้านแผนงานโครงการ ซึ่งอาจบรรจุไว้ในแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
ของกองบัญชาการกองทัพไทยABSTRACT
Title : Guidelines for defining health promotion measures for the Royal Thai
Armed Forces Headquarters. Case study :body mass index (BMI) greater than
25 kilograms/square meter
By : Colonel Sumphan Rongjumroen
Major Field: Socio -Psychology
Research Advisor : Colonel
(unarit nualanong)
1 August 2011
Defence personnel, the most valuable resourcess of Royal Thai Armed Froces
Headquarters (RTARF HQ), because they are the one who planned and implemented the plan.
Personnel readiness is the main factor that leads to others important readiness in Combat
readiness. By the annual health check shows that health risk rose up from 14.23% in 1999 to
33.72% in 2009. If the rising continue, it will decrease others rediness and mission, for instance,
forces preparation capabilities, forces deploying and national defense which are the major
missions of the Royal Thai Armed Forces.
To establish the personnel readiness, this research aimed to define the guidelines in
defining health promotion measures of the RTARF HQ which devided into 3 objectives, to study
health promotion guideline for Thailand, to study health promotion for RTARF HQ’s personnel
since the past till the present day, and to propose defining guidelines for the RTARF HQ.
Case studty: body mass index (BMI) greater than 25 Kg/M2
.
Researcher gatherd data by eliciting RTARF HQ in 2 groups which are personnel in
RTARF HQ which devined into 3 groups normal health group, health risk group and person who
used to be in health risk group which joined personnel without belly project of RTARF HQ and
opinion from commanders, director of divisions in joint personnel department. After that,
the researcher analysed the data which lead in defining the guidelines. The research results in six conclusions. First, policies of RTARF HQ should be
defined that leads to concrete implementation. Second, RTARF HQ should have the advocacy for
health which informed its personnel to have the correct understanding about health behaviour.
Third, the creation of supportive environment, this conclusion establishes the suitable
environment for food consumption behavior and exercise. Fourth, strength community action by
giving knowledge, understanding to personnel in RTARF HQ, this enforce all personnel in
creates supportive environment by setting up teams or groups to exchange knowledge with others.
Fifth, the developments of personnal skill, this conclusion can implements by sharing knowledge
and information on correct ways of behaviour changing. Lastly, the job of every commander is to
change the orientation of public health services.
For the success of health promotion implementation, adaptation on suitable tactics
and activities on health development that comform in Ottawa charter should be implement.
Supporting with health promotion activities for all RTARF HQ’s personnel, creating supportive
environment, building up the strength community, both on work place and family, to protect and
reduce the amount of personnel in health risk group which is not possible if the policies of
RTARF HQ, by Supreame commander, are not defined. The result leads to the concrete
implementation by project planning processes which are in human resource strategic plan of
RTARF HQ.
abstract:
ไม่มี