สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
012024
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
การพัฒนากิจกรรมการสร้างความสมานฉันท์ตามโครงการเทิดทูนสถาบันสำคัญของชาติ ของกระทรวงมหาดไทย
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สราวุฒิ ธนาเจริญสกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2552
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การพัฒนากิจกรรมการสร้างความสมานฉันท์ตามโครงการเทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติ ของกระทรวงมหาดไทย โดย : นายสราวุฒิ ธนาเจริญสกุล สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ( ทักษิณ สิริสิงห ) สิงหาคม ๒๕๕๔ การจัดท าเอกสารวิจัย เรื่อง “การพัฒนากิจกรรมการสร้างความสมานฉันท์ตามโครงการ เทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติของกระทรวงมหาดไทย”ในคร้ังน้ีสืบเนื่องจากในห้วงระยะเวลา ๔ –๕ ปี ที่ผ่านมา ปัญหาความขัดแย้งของคนในชาติไทยไดท้ วีความรุนแรงเพิ่มมากข้ึน จนส่งผลกระทบต่อ ความสงบในภาพรวมของชาติกระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็ นกระทรวงหลักที่มีภารกิจในการรักษา ความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ได้ตระหนักถึงความส าคัญของปัญหาดังกล่าว และเล็งเห็นถึง จุดเชื่อมประสานความสามัคคีของคนในชาติให้กลับมาเป็ นเหมือนดังเดิม โดยน้อมน าสถาบัน พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติเป็ นจุดเชื่อมประสานความสามัคคี จึงได้จัดท า โครงการเทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติเพื่อเสริมสร้างความสมานฉันท์ โดยน าพระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ออกเผยแพร่ให้แก่ ประชาชนได้รับทราบ โดยมีรูปแบบของโครงการคือการรวมพลังประชาชนให้เป็นน้ าหน่ึงใจ เดียวกัน การแสดงออกถึงความจงรักภักดีและเทิดทูนสถาบัน การน าบริการเคลื่อนที่ไปให้บริการ ประชาชน การแสดงความบันเทิง และการฉายภาพยนตร์พระราชกรณียกิจผ่านม่านน้ าที่ใหญ่ที่สุด เป็ นต้น ซึ่งด าเนินการในพ้ืนที่๒๙ จังหวดั จา นวน ๓๑ คร้ังการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ีผูว้ิจัยต้องการ ศึกษาแนวคิดของกิจกรรมการสร้างความสมานฉันท์ตามโครงการเทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติ ผล ที่ได้รับ ปัญหาอุปสรรคจากการด าเนินการกิจกรรมตามโครงการเทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติที่ กระทรวงมหาดไทยได้ด าเนินการ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๓ ท้งัน้ีเพื่อน าไปเป็นขอ้ มูลประกอบการพัฒนา กิจกรรมในโอกาสต่อไป โดยวิธีการศึกษาเป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพและเชิงพรรณนา ซึ่งรวบรวมข้อมูล จากหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องผลจากการศึกษาวิจัย พบว่า ประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมท้งัสิ้นประมาณ ๘๔๑,๐๐๐ คน โดยส่วนใหญ่รู้สึกประทับใจกิจกรรมต่างๆ ของโครงการรู้สึกปลาบปล้ืมใจ รักเทิดทูน และ จงรักภกั ดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ท้ังน้ีสืบเนื่องจากความรู้สึกในจิตใจของคนไทยที่มีความ เคารพเทิดทูนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และเมื่อได้รับทราบถึงพระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติเพื่อ ประชาชนชาวไทยผ่านทางสื่อของกิจกรรมโครงการ ยิ่งทา ให้ความส านึกของความจงรักภักดี และ ความสามัคคีของคนในชาติเพิ่มมากข้ึน และจากการศึกษาพบว่าการพัฒนากิจกรรมในโอกาส ต่อไปควรพฒั นาด้านต่างๆดังน้ีคือ สนับสนุนด้านงบประมาณ ด้านพ้ืนที่ให้ครอบคลุมท้งัประเทศ และเพิ่มเติมกิจกรรมที่ส าคญั อาทิเช่น การแสดงกิจกรรมบันเทิง การประกวด เป็ นต้น และหากมีผู้ ประสงคท์ ี่จะศึกษาในเรื่องน้ีหรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยเห็นว่าควรศึกษาในรายละเอียดของพระราช กรณี ยกิจของพ ระมหากษัตริ ย์ที่ทรงคุณู ปการต่อชาวไทย หรื อความส าคัญของสถาบัน พระมหากษัตริย์ที่ควบคู่กับสังคมไทยก ค าน า เอกสารการศึกษาวิจัยฉบับน้ีเป็นการศึกษาประกอบแนวความคิดทางด้านสังคม สถาบันส าคัญในสังคมไทยที่มีปัจจัยต่อความสามัคคีของคนในชาติ เอกส ารการวิจัยคร้ังน้ีเป็น การรว บ รว ม ข้อ มูล รูป แบ บ และกิจกรร ม ที่ กระทรวงมหาดไทยได้ด าเนินการโครงการเทิดทูนสถาบันส าคัญของชาติเพื่อเสริมสร้างความ สมานฉันท์ประจ าปี๒๕๕๓ โดยท้ังน้ีเพื่อให้โครงการดังกล่าวได้เผยแพร่ออกสู่ประชาชนใน ภูมิภาคของประเทศ เพื่อสร้างจิตส านึกของความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และ เสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติ โดยมีจุดศูนย์รวมจิตใจเป็ นหนึ่งเดียว การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ท้งัในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หวงัว่าเอกสารฉบบั น้ีจะเกิดประโยชน์ต่อผู้อ่านบ้างไม่มากก็น้อย ท้ายน้ีขอขอบคุณผูที่เกี่ยวข้องทุกท่านในการอนุเคราะห์ ้ ข้อมูล และตอบแบบสัมภาษณ์ เพื่อให้ เอกสารฉบบั น้ีส าเร็จลุล่วงไปดว้ยดี ( นายสราวุฒิ ธนาเจริญสกุล ) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๕๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ข สารบัญ หน้า ค าน า ก บทที่ ๑ บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๕ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๕ แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๕ ขอบเขตของการศึกษา ๖ วิธีการศึกษา ๖ นิยามศัพท์ ๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๖ บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎีและความส าคัญของความสมานฉันท์ แนวคิดความสมานฉันท์ ๗ แนวคิดความสามัคคี ๑๒ แนวคิดต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของไทย ๑๗ แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ๒๒ ทรงเป็นประมุข หลักธรรมที่พระมหากษัตริย์ไทยทรงปฏิบัติ ๓๑ ทฤษฎีกลุ่มผลประโยชน์ ๓๔ แนวคิดคุณประโยชน์ชาติ ๓๗ แนวคิดความขัดแย้ง ๓๙ แนวคิดความจงรักภักดี ๔๘ บทที่ ๓ รูปแบบกิจกรรมการสร้างความสมานฉันท์ รูปแบบการด าเนินงาน ๕๓ วัน เวลา และสถานที่ด าเนินงาน ๕๓ กิจกรรมที่ด าเนินการ ๕๕ค บทที่ ๔ ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการ ความเป็นมาของโครงการ ๕๙ ผลที่ได้รับเชิงปริมาณ ๖๐ ผลที่ได้รับเชิงคุณภาพ ๖๓ บทที่ ๕ สรุปและข้อเสนอแนะ ๖๙ แนวทางการพัฒนากิจกรรม บรรณานุกรม ภาษาไทย ๗๓ ประวัติย่อผู้วิจัย ๗๔
abstract:
ไม่มี