เรื่อง: แนวทางการจัดการปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้านการเมือง กรณีศึกษาของ จังหวัดอุบลราชธานี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. เวิน จำปาสา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดการปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้าน
การเมืองกรณีศึกษาของจังหวัดอุบลราชธานี
โดย : พันเอกเวิน จ าปาสา
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(ศิริชัย ศศิวรรณพงศ์)
๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔
จากปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้านการเมือง จนน าไปสู่การชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง
และใช้ความรุนแรงในห้วงปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ซึ่งได้ขยายวงกว้างไปสู่ภูมิภาคตามจังหวัดต่างๆ
โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นับได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากอดีต
ในห้วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองต้งัแต่ปี ๒๔๗๕ จนถึง ๒๕๔๙ ที่การชุมนุมเรียกร้อง
ทางการเมือง จะมีการเคลื่อนไหวการชุมนุมเฉพาะในส่วนกลาง คือกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นศูนย์
อา นาจรัฐบาล แต่สิ่งที่ผูว้ิจยัต้งัขอ้สังเกตมาโดยตลอด เท่าทสี่ ามารถรับรู้ขอ้มูลทางการเมือง ต้งัแต่
เหตุการณ์ ตุลาคม ๒๕๑๖ จนถึง กันยายน ๒๕๔๙ คือค าถามว่า อะไรคือสาเหตุของความ
ขัดแย้งจนนา ไปสู่การใชค้วามรุนแรง ทา ไมความขดัแยง้จึงมีพลงัอา นาจมหาศาล จนหลายคร้ัง
เหตุการณ์จบลงด้วยการใช้อาวุธท าร้ายประชาชนผู้ชุมนุม ซึ่งเป็นพี่น้องคนไทยด้วยกัน และถ้า
จะต้องจัดการกับปัญหาดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ ก็ควรจะจัดการที่ต้นเหตุหรือต้นตอของปัญหาการวิจยัเรื่องน้ีเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เนื่องจากผู้วิจัยเห็นว่า การ
จัดการปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้านการเมืองดังกล่าว เป็นเรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการ
ปัญหารับรู้ถึงสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา แต่มีข้อจ ากัดอย่างมากในการแสดงความคิดเห็นหรือให้
ข้อเสนอแนะแบบตรงไปตรงมา ผู้เกี่ยวข้องส่วนใหญ่ปฏิเสธที่จะให้ข้อมูล เนื่องจากมองว่าอ านาจ
ทางการเมืองเป็นอ านาจมืด ในการศึกษาข้อมูลเพื่อการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
ผูน้ า องคก์ ารหลกั ภาครัฐที่มีบทบาทในการดูแลความเรียบร้อยในพ้ืนที่จงัหวดัอุบลราชธานี และมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเหตุการณ์ในห้วงปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ เป็นข้อมูลหลัก เสริมด้วยข้อมูลจาก
เอกสารบทบาทหน้าที่ของต ารวจและทหารในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย
สรุปผลที่ได้จากการวิจัยพบว่า ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้านการเมืองของประเทศ
ไทยและของจังหวัดอุบลราชธานี ที่น าไปสู่การใช้ความรุนแรงในห้วงปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ เป็น
ปัญหาเดียวกันที่มีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกันท าให้ทราบว่า สาเหตุและกลุ่มบุคคลที่เป็นต้นเหตุ
ของปัญหาความขัดแย้งจนน าไปสู่ความรุนแรง คือการแย่งชิงอ านาจในการบริหารประเทศของ
กลุ่มผู้น านักการเมือง ที่ไม่เคารพกฎกติกา ขาดจริยธรรม ใช้ทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งอ านาจ การ
สร้างเงื่อนไขของเจา้หน้าที่ภาครัฐ โดยเฉพาะทหาร ตา รวจและองคก์รยุติธรรม ต้งัแต่การไม่
วางตัวเป็นกลางทางการเมือง ยอมตกเป็นเครื่องมือของนักการเมือง และที่ส าคัญคือความไม่
ยุติธรรม ประชาชนขาดความเชื่อมนั่ และเคลือบแคลงในเรื่องนิติรัฐ ภาครัฐไม่มีบุคคลหรือกลุ่ม
บุคคลที่จะสื่อสารสร้างความเขา้ใจกบัแกนนา การชุมนุมหรือกลุ่มผูชุ้มนุม นอกจากน้ียงัมีสาเหตุ
เสริม คือ หัวหนา้รัฐบาลขาดคุณธรรม ไม่คิดบนพ้ืนฐานการอยู่รอดของประเทศ แต่คิดบนพ้ืนฐาน
การักษาอ านาจ เจ้าหน้าที่อิงนักการเมืองสนับสนุนให้ใช้ความรุนแรงโดยจัดหาอาวุธให้กลุ่มผู้
ชุมนุม การถูกหล่อหลอมบทบาททางการต่อสู่ที่ไม่ถูกต้องของกลุ่มผู้ชุมนุมผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะในการจัดการปัญหาความขัดแย้งทางสังคมด้านการเมือง โดยมุ่ง
ไปที่ต้นเหตุของปัญหาคือกลุ่มบุคคล ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักการเมืองที่แย่งชิงอ านาจในการ
บริหารประเทศที่ไม่เคารพกติกา และเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่อิงนักการเมือง โดยเสนอกิจกรรมหลัก ๒
กิจกรรม คือ การสร้างกระแสเชิดชูคนดี และการสร้างกระแสปฏิเสธคนไม่ดีแต่มีอ านาจ
นอกจากน้ีไดเ้สนอให้มีการศึกษาวิจยัรูปแบบกิจกรรมการสร้างกระแสเชิดชูคนดี และกิจกรรมการ
สร้างกระแสปฏิเสธคนไม่ดีแต่มีอ านาจ เพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในพัฒนาการ
เมืองไทยในระยะยาว
abstract:
ABSTRACT
Title : The guideline of political society conflict management in
Ubonratchtani
By : Colonel Wern Champasa
Major Field : Social Physiology
Research Adviser : Colonel
(Sirichai Sasiwannapong)
July 2011
Within 2009 and 2010, social and political conflict in Thailand has led to protests and
violence, which spread all over the country, especially the Northern and Northeastern areas. The
protests had changed significantly from the past, from the Siamese Revolution of 1932 to 2006, in
which the protests only took place in Bangkok, the center of government. However, an interesting
question, which has been studied since the incident on October 19, 1973 until September 19, 2006, is
that what could cause such an intense conflict, in which the protestors hurt their fellow Thai people
violently. The answer to this question would lead to effective solution to the conflict.The study of the sources of social and political conflict is a Quantitative Research because, in
order to resolve the conflict, the authorities involved need to understand the true source of the
problems. However, authorities in charge of resolving the problems refuse to provide honest opinion
because they are aware that political power can be misused. To collect data for the study, researchers
mainly interviewed leaders of main government organizations who directly involved in the incidents
in Ubon Ratchathani during 2009 to 2010. In addition, documents recording the roles of police and
military officers were also used.
According from the data in this study, social and political conflict in Thailand and Ubon
Ratchathani, which led to violence during 2009 and 2010, are related. The main source of the conflict
is the fights for political power among politicians, who lack morality, ignore the rules, and use
unjustified method to win over the power. The conflict also put police and authorities involved in
justice in difficult position, which led to political bias. Therefore, people have lost their credibility in
a state operating under laws, and the government no longer has a representative that can communicate
with the leaders of protestors. In addition, government leaders only concern about staying in power,
but not the stability of the country as a whole. As a result, pro-politician officers encouraged
protestors to use violence by providing them with weapons.
Researchers suggest a way to resolve social and political conflict by focusing on two groups
of people, politicians who fight over political power and pro-politicians officers. The two main
activities that would help resolving the conflict are creating an honorary system for good persons and
creating a movement against bad persons with power. In addition, more studies should be conducted
to determine the structure of these two activities for an effective solution of the conflict in the long
term.