เรื่อง: แนวทางการบำบัดน้ำเสียของกองทัพเรือ กรณีศึกษาเฉพาะพื้นที่ค่ายกรมหลวงชุมพร โดยประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีบำบัดน้ำเสียของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. วุฒินันท์ พยัคฆสังข์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการบา บดั น้ าเสียของกองทพั เรือกรณีศึกษาเฉพาะพ้ืนที่ค่ายกรมหลวง
ชุมพรโดยประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีบ าบัดน้ าเสียของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวเพื่อความมนั่ คงแห่งชาติทางทะเล
โดย : นาวาเอก วุฒินันท์ พยัคฆสังข์
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( กิตติภัค ทองธีรธรรม )
สิงหาคม ๒๕๕๔
การวิจัย เรื่อง แนวทางการบา บดั น้ าเสียของกองทพั เรือกรณีศึกษาเฉพาะพ้ืนที่ค่ายกรมหลวง
ชุมพรโดยประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีบา บดั น้ าเสียของพระบาทสมเด็จพระเจา้อยู่หัวเพื่อความมนั่ คง
แห่งชาติทางทะเลน้ันมีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงผลกระทบของน้ าเสียที่ถูกปล่อยลงสู่ทะเลที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและความมั่นคงแห่งชาติทางทะเลตลอดจนการศึกษาถึงแนวคิดทฤษฎีของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงน ามาใช้ในการบ าบัดน้ าเสียอย่างได้ผล ซึ่ งกองทัพเรือเป็ น
หน่วยงานหน่ึงที่มีหน่วยข้ึนตรงหลายหน่วยที่มีที่ต้งัอยู่ติดกบั ทะเลและได้ปล่อยน้า ทิ้งลงทะเลทา ให้
เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติในทะเลเช่นกัน
วิธีการวิจัยกระทา โดยการน าน้ าทิ้งที่เกิดข้ึนภายในพ้ืนที่ค่ายกรมหลวงชุมพรที่ไหลลงสู่ทะเล
ไปทดสอบเพื่อหาองค์ประกอบต่างๆที่อยู่ในน้ า มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่การสัมภาษณ์การเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ผูท้ ี่ประกอบอาชีพท าประมงชายฝั่งทะเลของ อา เภอ สัตหีบและ
หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งกับน้า ทิ้งที่เกิดข้ึนภายในค่ายฯ รวมท้งัการเก็บขอ้ มูลจากการวิเคราะห์เอกสาร
รายงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวคิด ทฤษฎี น ามาจัดระบบ ท าการศึกษา วิเคราะห์ให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ น าเสนอผลการวิจัยโดยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัย สรุปไดว้่าการบา บดัน้ าทิ้งที่มีค่า BOD.และค่าของแอมโมเนีย ไนโตรเจน เกินกว่า
ค่าที่ก าหนด สามารถใช้วิธีการบา บดั น้า เสียดว้ยการผสมผสาน ระหว่างพืชน้า กบัระบบทางเดินอากาศ
โดยใช้พืชน้ าคือ ผกั ตบชวา เป็นตวับา บัด ก่อนปล่อยน้ าทิ้งดังกล่าวลงสู่ทะเล การให้ข้อมูลจากการ
สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องบางส่วนอาจมีผลกระทบต่อความเที่ยงตรงของผลการวิจัย เนื่องจากเกรงว่าจะ
กลายเป็ นความบกพร่องของหน่วยที่ไม่ปฏิบตัิตามคา สั่งของหน่วยเหนือ ผลที่ได้จากการวิจัย ทา ให้
ทราบแนวทางการพฒั นาระบบบ าบดั น้ าเสียที่เกิดข้ึนภายในค่ายกรมหลวงชุมพรที่หน่วยอื่นๆของ
กองทพั เรือที่มีที่ต้งัอยู่ติดทะเลสามารถนา ไปทดลองใชไ้ดเ้นื่องจากปัญหาที่เกิดข้ึนจะคลา้ยกนัและจะ
ทา ให้น้ าเสียที่ถูกปล่อยลงทะเลโดยหน่วยของกองทพั เรือมีน้อยลง ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลก็ถูก
ทา ลายนอ้ยลงทา ให้ความมนั่ คงทางทะเลมีมากข้ึน
abstract:
ABSTRACT
Title : Naval waste water treatment guideline case study area camp Krom Luang
Chumphon by using H.M. the king’s waste water treatement guideline and theory
for national maritime security
By : Capt. Wutthinun phayakkasung
Major Field : Science and Technology
Research Advisor : Colonel
( Kittipuk Tongteeratum )
August 2011
The research on Naval wastewater treatment guideline case study area camp Krom Luang
Chumphon that used H.M. the king’s wastewater treatement guideline and theory for national
maritime security has main objective on analysis the result of wastewater that was released into the
sea which effect the nataural resources and national maritime interest. Furthermore, the researches
also study on the implementation of the effective guidelines and theory on wastewater treatment
from H.M the king. Naval units, located on seashore, can implement the guidelines of wastewater
treatment correctly and effectivcely.
By gathering the data from wasterwater component analysis from wastewater within the
camp area, this research mainly used eliciting to collect the data from fishermen who live in
Sattahip province and naval units in the camp area. Researcher also analyzed on documents and
reports from related departments, including guidelines and theory to synthesize and systematize the
recommendation guidelines then present the result of this research by using descriptive analysis
methodology.The research result is that Biochemical Oxygen Demand (BOD) and amonium nitrate from
wastewater are higher than standard. Recommending guideline for wastewater treatment is to
integrate the treatment by using aquatic plants and Aerobic Oxidation treatment. First, treated the
wastewater by using Hyacinth then used Aerobic Oxidation treatment before dumped the improved
water in to the sea. However, thers are some errors that revealed by eliciting. Some correct data are
hided because the operators are fear that the real results were their faults. The result from this
research is useful because the recommeded guideline can be use by naval units which locate on
seaside in wastewater treatment which result in improving the quality of the water that was dumped
into the sea, the more improvement are done the less destructive in national resources will occur and
this will gain more national maritime security.