Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาประสิทธิภาพการเข้าร่วมการฝึกคอบร้าโกล์ดของกองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. วัฒนา อ้นอารี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2552
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การพัฒนาประสิทธิภาพการเข้าร่วมการฝึ กคอบร้าโกลด์ ของกองบัญชาการ กองทัพไทย Development of Efficiency Participates In Cobra Gold Exercise of Royal Thai Armed Forces Headquarters โดย : นาวาอากาศเอก วัฒนา อ้นอารี สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (กิตติภัค ทองธีรธรรม) สิงหาคม ๒๕๕๔ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของผู้เข้าร่วมการฝึ กและการจัด การ ฝึ กคอบร้าโกลด์ของกองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อก าหนดและตรวจสอบแนวทาง การพัฒนาการ ฝึกคอบร้าโกลด์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการรวบรวมและการ วิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ที่เข้าร่วมการฝึ กหรือผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการฝึ กคอบร้าโกลด์ที่ผ่านมาใน ระดับช้ันยศพันตรีข้ึนไปที่เข้าร่ วมการฝึ กในช่วงปี ๒๕๔๙- ๒๕๕๓ และแบบสัมภาษณ์ ผู้บังคับบัญชาช้ันสูงระดับผู้อ านวยการกองข้ึนไป การวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าอายุและระดับ การศึกษาเท่าน้นที่มี ั ความสัมพันธ์กับสภาพปัญหาการจัดการฝึ กคอบร้าโกลด์ ผลการวิจัยสรุปได้ดงัน้ีคือ พบว่ายังมีปัญหาในด้านภาษาอังกฤษที่ใช้สื่อสารกับก าลังพลจาก มิตรประเทศควรมีการวางแผนการจัดก าลังพลเข้ารับการฝึ กต้องให้มีความต่อเนื่อง ตามสายงานที่มี ความรู้ความสามารถ พร้อมท้ังจัดอบรมภาควิชาการช้ีแจงถึงวตัถุประสงค์มีการแจกจ่ายเอกสาร คู่มือ เพื่อให้เกิดความพร้อมก่อนเขา้รับการฝึกพร้อมท้ังควร มีการจัดก าลงัพลที่มีประสบการณ์ ความชา นาญ ทา หนา้ที่เป็นพี่เล้ียงคอยให้คา แนะน าช่วยเหลือปัญหาที่เกิดข้ึน ดา้นการจดัการฝึกควรมีการทบทวนสถานการณ์ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน พร้อม ท้งให้สามารถน ากลับไปใช้ในการปฏิบัติงานปกติได้ ต้องมีการสนับสนุนเครื่องช่วยฝึ ก และการ ั ดูแลสวัสดิการในด้านต่าง ๆ ตามสิทธิก าลังพลอย่างเพียงพอและให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็ นการ บา รุงขวญั และกา ลงัใจ นอกจากน้ีควรมีการประกาศเกียรติคุณหรือมีหนังสือขอบคุณถึงหน่วยต้น สังกัดของผู้เข้าร่วมการฝึ ก เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยการฝึกคอบร้าโกลด์ถือว่าเป็นสิ่งที่บ่งช้ีกบั ทิศทางและแนวโน้ม ดา้นการทหารในภูมิภาคน้ีของสหรัฐฯ ทา ให้เราสามารถวิเคราะห์ได้แต่บทบาทในดา้นการทหาร ของสหรัฐฯจะเป็นไปอย่างไร สิ่งที่พิสูจน์ให้ชัดเจนคือในยุคสิ้นสุดสงครามเยน็ สหรัฐฯ ไดน้ าเอา สถานการณ์ในการบังคับให้เกิดสันติภาพมาทดแทน สถานการณ์การรบด้วยก าลังทหารขนาดใหญ่ แบบด้งัเดิม (CG-2000) หลงัจากน้นั ทิศทางของโลกให้ความส าคญั เพื่อสันติภาพมากข้ึน สหรัฐฯ ได้ เสนอให้มีการจัดต้งั UNF ในการฝึ ก CG-06 เป็นคร้ังแรกและพยายามผลกั ดันให้การฝึก CG เป็ น การฝึกแบบพหุภาคีเต็มรูปแบบ จนกระทงั่ ปัจจุบนั สหรัฐฯ ยงัคงสนับสนุนให้มีชาติต่างๆ เข้าร่วม การฝึกมากข้ึนทุกปี(CG-10 ผลักดันให้เกาหลีใต้เข้าร่วมฝึ ก) ตลอดจนพยายามเชื่อมโยงบทบาทของ โครงการ MPAT เข้าสู่การฝึ ก CG เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ รวมใช้เวลาการฝึกคอบร้าโกลด์เป็นสิ่งทดลอง แนวคิดทางทหารใหม่ ๆ และหลักนิยมต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา ผลการวิจัยโดยรวม พบว่าปัญหาด้าน ก าลังพลควรได้รับการแก้ไขเป็นอันดับแรก ข้นั ระหว่างการฝึก ต้องมีการดูแลด้านสวสั ดิการ วสั ดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้การจัด ผู้เชี่ยวชาญคอยแนะน าช่วยเหลืออย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ด้านการจัดการฝึ ก กรอบสถานการณ์การฝึ ก ควรมีความสอดคล้องและใกล้เคียงกับ สถานการณ์ในปัจจุบนั มากที่สุด สามารถน ามาประยุกต์หรือใช้กับการปฏิบตัิงานในพ้ืนที่ขัดแยง้ ปัจจุบันได้ มีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และดูแลด้านสวัสดิการให้เกิดความ พึงพอใจและมีประสิทธิภาพมากที่สุด พร้อมท้งัมีการจัดเก็บขอ้ มูลของก าลังพลที่เข้าร่วมการฝึ ก เพื่อการรักษาสิทธิประโยชน์ในการปฏิบัติการร่วม/ผสมในอนาคตต่อไป ส่วนแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการเขา้ร่วมการฝึกคอบร้าโกลด์น้นั เห็นว่าควรมี การพฒั นาโดยเนน้ความส าคญั ของข้นัการเตรียมการให้ผูร้ับผิดชอบในทุกระดับช้ันให้ความส าคญั ในการเตรียมความพร้อมในด้านองค์วัตถุ องค์บุคคล องค์ความรู้ ส าหรับการฝึกในคร้ังต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title : Development of Efficiency Participates In Cobra Gold Exercise of Royal Thai Armed Forces Headquarters By : Group Captain Wattana Ont-aree Major Field : Military Research Advisor : Colonel (Kittipuk Thongteerathum) August 2011 The objectives of this research were to study the problems existing during the Cobra Gold Exercises as well as seeking for guidelines for problem solving on this matter. The conceptual framework of this research was the study on personnel participating in Cobra Gold Exercises as well as problems on the aspects of operations, administration and welfare. In order to gain qualified information and cover all aspects of the research, the researcher applied the method of data collection and related personnel with the ranks of Majors and above, participating in Cobra Gold Exercises between 2006 and 2010. Moreover, interview forms were employed to gain information from the sampling group of ten senior commanders with the positions of Division Directors and above. The hypothesis of this research was the characteristics of participating personnel, namely gender, age, levels of education, had relationships with the opinions expressed, which led to the answer of the research question: readiness of participants in the Exercises in terms of knowledge, English language, problems on Exercise management as well as guidelines for problem solving. The results of this research starting from the test of hypothesis, it was found that merely the age and levels of education had relationships with opinions related to problems of Cobra Gold Exercises, namely participants did not understand the objectives of the Exercises and had problems in using English which was the principal core in communications. Problems on Exercise Management: Regarding problems on operational aspects, it was found that exercise questions and scenarios were out–of-date. Neither manuals nor documents related to the Exercises were provided for information reference. Concerning administration and welfare aspects, participants were facing the problems of accommodation, working offices, food, inadequate of transportation as well as inadequate budget allocation. Guidelines for problem solving for the purpose of revision and development in the aspects of personnel, knowledge and materials should be handled as follows: planning on the management of spontaneous personnel according to their fields of work to participate in the Exercises, providing academic trainings in order to notify the objectives of each Exercise as well as distributing relevant manuals and documents for the purpose of readiness prior to the Exercises, setting up a group of experienced personnel as consultants when problems occurred, regarding exercise management, revision of scenarios to be in accordance with current global situations as well as being able to apply with actual working performance, supporting of training equipments and sufficiently and effectively providing welfare in various aspects for the purpose of good morale of participants, Certificate of Attendance as well as Letters of Appreciation should be notified to the working units of participants to strengthen participants’ motivation.