เรื่อง: แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลที่กระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. วัชริศพล มนต์มณีรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
ข.
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลที่กระท าผิดซ ้าในคดียาเสพติด
The Approaches in Quality of Life Development for Repeated
Narcotic Offenders.
โดย : พันเอกวัชริศพล มนต์มณีรัตน์
สาขาวิชา : สังคมวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( อุนฤทธิ์ นวลอนงค์ )
กรกฎาคม ๒๕๕๔
การศึกษาแนวทางทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลที่กระท าความผิดซ้ าในคดียา
เสพติด มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุการกระทา ความผิดซ้ าในคดียาเสพติด รูปแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตและแนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตบุคคลที่กระทา ผิดซ้ าในคดียาเสพติด โดยมีกลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีรวม ๘๐ คน ได้แก่ ๑)ผูท้ ี่เคยกระทา ผิดซ้า คดียาเสพติดซึ่งเข้ารับการ
บ าบัดรักษาแบบสมัครใจและบังคับบ าบัด ณ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จังหวัดปทุมธานีจ านวน
๕๐ คน ๒) ผู้ที่ถูกต้องโทษจ าคุกเป็นผู้ต้องขังที่กระท าผิดซ้ าคดียาเสพติด ณ เรือนจ าคลองไผ่
จังหวัดนครราชสีมาจ านวน ๒๐ คนและ ๓)ผู้ที่ท าหน้าที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
จ านวน ๑๐ คน
ผลการศึกษา สาเหตุการกระท าความผิดซ้า ในคดียาเสพติด พบว่าปัจจยัสภาพแวดล้อม
ที่มีคนดื่มเหล้ามาก คนใช้สารเสพติดมาก มีแหล่งมั่วสุมของวัยรุ่นมาก และแก้งค์ผู้ก่อความ
เดือดร้อนร าคาญ เป็นมูลเหตุที่เอ้ือต่อการกลบั มาทา ผิดซ้า โดยการกระทา ผิดคร้ังแรกอยู่ระหว่างอายุ
๑๕ - ๒๐ ปีในคดีเสพยาเสพติดและ การกระทา ผิดซ้ าคดียาเสพติดส่วนใหญ่เป็นคดีเสพและคดี
จ าหน่ายตามล าดับ การกระทา ผิดซ้า ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง ๑ – ๒ คร้ังโดยขอ้มูลทางคุณภาพพบว่าค.
การกระท าผิดซ้ าส่วนใหญ่มาจากพ้ืนฐานการเสพติด เกิดจากการอยากยา (craving)
การขาดโอกาส เพื่อนชักจูง และการขาดรายได้มีผลให้เกิดการกระทา ผิดซ้า
รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ป้องกันไม่ให้เกิดการกระท าผิดซ้ า ประกอบด้วย
๑)การจัดทา ฐานขอ้ มูลบุคคลที่เคยกระท าผิดซ้ าและจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งทราบเพื่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ๒) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบุคคล ให้ความรู้ทัศนคติในทางบวกและฝึ ก
ปฏิบัติให้เกิดความเชื่อมั่นในเรื่องการกลับตวัเข้าสู่สังคมพร้อมที่จะอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
๓) การมีสัมมาชีพสุจริตและการประหยัดอดออม ๔) การส่งเสริมให้ด ารงชีวิตภายใต้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ๕)การบริหารจัดการบูรณาการอย่างเข้มข้น
แนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตบุคคลที่กระทา ผิดซ้ าคดียาเสพติด จากการศึกษามี๓
แนวทางหลัก ได้แก่ ๑) แนวทางการพึ่งตนเอง หมายถึง บุคคลดังกล่าวตอ้งมีความเชื่อมนั่ ว่าจะไม่
กระทา ผิดซ้ าอีกคร้ังหน่ึงหรือการยบัยงั่ ชั่งใจจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ๒) แนวทางการพึ่งพา
กันด้านสังคม หมายถึง การให้โอกาสในการยอมรับและสนับสนุนให้บุคคลดังกล่าวมีคุณภาพชีวิต
ที่ดีข้ึนและสามารถลุกข้ึนสู่การไม่กระทา ผิดซ้ าและ ๓) แนวทางการสร้างเครือข่ายประชาสังคม
ป้องกันการกระท าผิดซ้ า ที่ให้เครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการยอมรับและสนับสนุนดูแล
และให้โอกาสกลุ่มเป้าหมายที่จะลุกข้ึนพัฒนาตนเองเป็นบุคคลที่มีคุณภาพได้อย่างเข้มแข็งยงั่ ยืนใน
สังคมไทยไม่หันกลับไปสู่วงจรอุบาว์ทอีกต่อไป ซึ่งมีข้อเสนอในเชิงประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่การ
สร้างความเชื่อมนั่ ความศรัทธาและประเด็นการพ่ึงพาร่วมกันด้านสังคม โดยให้มีแผนปฏิบัติการ
“ คืนชีวิตใหม่ที่ดีกลับสู่สังคม ถวายเป็ นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในวโรกาส
เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา” ซึ่งจ าเป็นต้องมีการบูรณาการในการจัดท าแผนงาน การบริหาร
จัดการร่วมกันอย่างเข้มข้นจริงจังเป็นรูปธรรมง.
ABSTRACT
Title : The Approaches in Quality of Life Development for Repeated
Narcotic Offenders.
By : Colonel Wacharitpol Montmaneerat
Major Field : Social Sciences
Research Advisor : Colonel
(Aunarit Nounanoug)
July 2011
The study on approaches to quality of life development for narcotic recidivists has the
objectives to learn the causes of narcotic crime repetition, the approaches and guidelines to
improve quality of life for them. The sample group comprises of 80 persons and can be divided
into 3 sub-groups, 1) 50 repeated culprits who enter the voluntary and compulsory treatments at
Thanyarak Hospital in Pathumthani province. 2) 20 narcotic prisoners in Klongpai prison,
Nakornratchasima province. 3) 10 persons in charge of prevention and resolution of narcotic
problem.
The results of this study have revealed the root causes of repetition on inductive
environmental factors with many alcoholic drinkers, many drug users, many locations for
gathering of the youths and gangsters that causes troubles. The age group of the first-time
violators in narcotic, the users, is from 15 to 20 years old. Repetitions are mainly on using and
selling consecutively with 1-2 repetitions. The qualitative data shows that repetition mostly
causes by addiction, craving, lack of opportunity, peer group induction, and the lack of income.
The approaches in improving their quality of life to prevent the returning to criminal acts
again can include 1) formulating repeated culprits database deliverable to relevant agencies for
quality of life improvement. 2) Personal behavior improvement by instilling positive attitude and
knowledge via training in order to be confident in social reintegration.3) Performing the decent จ.
and economy life. 4) Enhancing the living under the Sufficient Economy philosophy.5) The
commitment in integrated management.
There are 3 primary approaches from the study to improve quality of life for the repeated
criminals; 1) self reliance approach that such individual must be confident on no-return or has self
resisting power. 2) Social reliance approach means the society should accept and provide supports
and opportunities to allow them the better lives and never turn back to the past.3) The formulation
of civil-society networking to prevent the repetition, based on participation from all walks of life
for acceptance and supports that shall give the good opportunity to the targeted group to become
the quality population without returning to the vicious circle again. The strategic proposals are to
creating confidence, faithfulness, and interdependency in the society with the operation plan
called “Return the Good New Life to the Society” in order to commemorate His Majesty the
King’s 84 years old.This plan needs to be integrated rigorously in planning formulation and joint
implementation for its realization.The study on approaches to quality of life development for
narcotic recidivists has the objectives to learn the causes of
narcotic crime repetition, the approaches and guidelines to
improve quality of life for them. The sample group comprises
of 80 persons and can be divided into 3 sub-groups, 1) 50
repeated culprits who enter the voluntary and compulsory
treatments at Thanyarak Hospital in Pathumthani province. 2)
20 narcotic prisoners in Klongpai prison, Nakornratchasima
province. 3) 10 persons in charge of prevention and resolution
of narcotic problem.
The results of this study have revealed the root causes of
repetition on inductive environmental factors with many
alcoholic drinkers, many drug users, many locations for
gathering of the youths and gangsters that causes troubles. The
age group of the first-time violators in narcotic, the users, is
from 15 to 20 years old. Repetitions are mainly on using and
selling consecutively with 1-2 repetitions. The qualitative data
shows that repetition mostly causes by addiction, craving, lack
of opportunity, peer group induction, and the lack of income.
The approaches in improving their quality of life to
prevent the returning to criminal acts again can include 1)
formulating repeated culprits database deliverable to relevant
agencies for quality of life improvement. 2) Personal behavior
improvement by instilling positive attitude and knowledge via
training in order to be confident in social reintegration. 3)
Performing the decent and economy life. 4) Enhancing the
living under the Sufficient Economy philosophy. 5) The
commitment in integrated management.
There are 3 primary approaches from the study to improve
quality of life for the repeated criminals; 1) self reliance
approach that such individual must be confident on no-return or
has self resisting power. 2) Social reliance approach means the
society should accept and provide supports and opportunities to
allow them the better lives and never turn back to the past. 3)
The formulation of civil-society networking to prevent the
repetition, based on participation from all walks of life for
acceptance and supports that shall give the good opportunity to the targeted group to become the quality population without
returning to the vicious circle again. The strategic proposals are
to creating confidence, faithfulness, and interdependency in the
society with the operation plan called “Return the Good New
Life to the Society” in order to commemorate His Majesty the
King’s 84 years old. This plan needs to be integrated rigorously
in planning formulation and joint implementation for its
realization.
abstract:
ไม่มี