เรื่อง: การจัดการป่าชุมชนบ้านสันต้นเปา จังหวัดเชียงราย กับนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.2550 - 2554
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย พงษเดช รัตนานุกูล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การจดัการป่าชุมชนบา้นสันตน้ เปาจงัหวดัเชียงรายกบั นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔
โดย : นายพงษเดช รัตนานุกูล
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( นรชัย วงษ์ดนตรี )
กรกฎาคม ๒๕๕๔
การศึกษาวิจัยน้ีมุ่งศึกษาว่า การจัดการป่ าชุมชนบ้านสันต้นเปา ส่งเสริมหรือสนับสนุน
เพื่อบรรลุผลตามนโยบายความมนั่ คงแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ ได้อย่างไรบ้าง วิธีการศึกษา
เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) โดยศึกษาจากการสังเกต การส ารวจสภาพป่ า และ
ความหลากหลายทางชีวภาพ การวางแปลงส ารวจตัวอย่าง (Sample Plot) และการสัมภาษณ์แบบ
เจาะลึกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ (fogus group) ใช้ข้อมูลเอกสารป่ าชุมชนบ้านสันต้นเปา ข้อมูลนโยบาย
ความมนั่ คงแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การน าเสนอ
ผลใช้การพรรณนาวิเคราะห์ (analysis description) ด้วยตรรกะประกอบแนวคิดทฤษฎี
ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การจัดการป่ าไม้ของกรมป่ าไม้ปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนไปสู่
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนมากข้ึน โดยเฉพาะรูปแบบการจัดการป่ าชุมชน การศึกษา
นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ พบว่ามุ่งเน้นแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบ
ใหม่ที่มิใช่การสงครามแบบเดิม ด้วยการพัฒนาฐานทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นส าคัญ เมื่อวิเคราะห์การจัดการป่ าชุมชนบ้านสันต้นเปา เปรียบเทียบกับ
นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติพ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔ พบว่าเกี่ยวโยงในเชิงส่งเสริมกัน รวม ๗ ประเด็น
จากนโยบายหลักท้งัหมด ๑๑ ประเด็น โดยเกี่ยวโยงชัดเจน จ านวน ๔ ประเด็น คือ การเสริมสร้าง
ความสมดุล มั่นคง และยั่งยืนในระดับ ฐานราก , การสร้างดุลยภาพการบริ หารจัดการฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มและคุม้ครองสิทธิเหนือทรัพยากรชีวภาพ , การพัฒนาทรัพยากร
มนุษยใ์นมิติด้านความมั่นคง และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ และรากฐานประชาธิปไตยที่ยงั่ ยืนในระดับชุมชน เกี่ยวโยงในเชิงส่งเสริมทางอ้อม ๓ ประเด็น คือการ
ฟ้ืนฟูความสมานฉันท์เสริมสร้างความรักชาติและเอกภาพของคนในชาติ, การเสริมสร้างและ
พัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ และการพัฒนาศักยภาพการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
ข้อเสนอแนะที่ส าคัญคือกองทัพควรเข้ามามีบทบาทช่วยส่งเสริมความเข้มแข็งของ
ชุมชนในลักษณะการจัดการป่ าชุมชน โดยเฉพาะในพ้ืนที่ที่กองทพัควบคุมดูแลเพื่อเป็นทางหนึ่งใน
การส่งเสริมตามนโยบายความมนั่ คงแห่งชาติในปัจจุบนัABSTRACT
Title : The Community Forest Management of Ban San Ton Pao ,
Chiangrai Province and National Security Policy during
2550-2554 B.E.
By : Mr. Pongdej Rattananukul
Major Field : Socio-Psychology
Research Advisor : Colonel
(Norachai Wongdontree)
July 2011
The purpose of this research was to study how the community forest
management of Ban San Ton Pao , Chiangrai province has supported or encouraged
National Security Policy during 2550-2554 B.E. . This was the qualitative research by
means of observation, forest environment investigation and diversity of biological
condition . In addition, the researcher also applied the method of sample plots and
deep interview of focus groups . The specific and related information was collected
through the guideline, theories, related researches, and document of Ban San Ton Pao ,
Chiangrai Province and National Security Policy during 2550-2554 B.E. . The result
was presented by means of analysis description including logical mean and theory
guideline .
The results found that currently, the forest management of The Royal Forest
Department have changed into more people’s participation than earlier . Especially,
the pattern of community forest management and the study of National Security Policy 2550-2554 B.E. , we found that this type has emphasized to handle and resolve all new
kinds of non traditional threats with the method of human resources management and
natural resources rehabilitation for the primary main purpose . When comparing the
analysis of the community forest management in Ban San Ton Pao with the National
Security Policy 2550-2554 B.E. . There were 7 aspects of the two projects obviously
related in their encouragement sense each other from the 11 aspects of the whole main
policy . There were 4 clear relation issues including creating of the balance, sustainable
security of the base level, creating the suitable balance in the management of natural
resources, environment and protection of the right and privilege beyond the biological
resources, human resources management in the field of security, enhancing the good
governance in the national government and management and maintain the base of
sustainable democracy among the community level. There were 3 relation of
encouragement indirectly including restoration of unity and harmony and encouraging
pacifism, loyalty, patriotism and integrity among people in the country, improve and
encourage the highest potential of national defence and the national preparation.
The crucial recommendation was the Royal Thai Armed forces should play
important role to encourage the community strength in form of community forest
especially in the specific area lied on Royal Thai Armed forces’ s responsibility. This
was considered one way of community development and enhancement process
according to national security policy in the present .
abstract:
ไม่มี